จากติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษที่แต่งตำราขายเอง เป็นที่รู้จักดีในโลกออนไลน์จากเพจ “ครูหนึ่งอิงลิซชีวิตจริง” พลิกชีวิตคิดพัฒนาปรับปรุงที่ดินที่ซื้อเก็บไว้ 12 ไร่ เพื่อต่อยอดสู่การทำเกษตรที่ยั่งยืนนำรายได้สู่ครอบครัวและท้องถิ่นสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้นมานับหลายเท่าตัว
นี่คือ “SIMPLY DÉCOR” พวกเขาทำผลิตภัณฑ์จากกระดาษสาแบรนด์ “PAPA PAPER CRAFT®” ทว่าไม่ใช่กระดาษธรรมดาๆ ที่ลบภาพจำเก่าๆ ของกระดาษสา เมื่อหลายทศวรรษก่อนไปจนสิ้น
จากชีวิตสวยหรูของแอร์โฮสเตสสาวที่เดือนๆ หนึ่งได้เงินไม่ต่ำกว่าหลักแสนบาท ได้ใช้ชีวิตอยู่เมืองนอก ได้ท่องเที่ยวต่างประเทศ ใครเลยจะคิดว่าอยู่ดีๆ วันหนึ่ง "พจนันท์ เกตุประเสริฐ" จะตัดสินใจลาออกจากงาน เพื่อมาขายขนมไทยกล่องละไม่กี่สิบบาท
นี่คือเรื่องราวของช่อง YouTube ที่ชื่อ “สามอาชีพ เพื่อมนุษยชาติ” คลิปซื่อๆ ที่นำเสนอด้วยความเรียบง่ายและจริงใจ ตั้งคำถามแบบคนไม่รู้เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบเคลียร์ๆ ให้คนที่อยากพึ่งพาตนเองด้วย “สามอาชีพ” คือ กสิกรรมไร้สารพิษ ปุ๋ยสะอาด และขยะวิทยา
“Supreme” แบรนด์สตรีทแวร์ชื่อดังจากนครนิวยอร์ค ที่ไม่น่าเชื่อว่าแม้จะมีแค่โลโก้กรอบสีแดงตัวหนังสือสีขาวอยู่ด้านใน แต่กลับสร้างมูลค่ากลับไปให้แบรนด์ได้มากกว่าหลายหมื่นล้านบาททีเดียว!
ในวันที่ประเทศไทย เพิ่มทางเลือกให้กับนักท่องเที่ยวกระเป๋าหนัก ที่อยากเข้ามาเที่ยวไทยในช่วงโควิด ด้วยโมเดล “การกักตัวบนเรือยอชต์” (Digital Yacht Quarantine) เพื่อปลดล็อกและฟื้นฟูการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวชื่อดังอย่าง จ.ภูเก็ต
เคยคิดไหมว่าอยู่ดีๆ วันหนึ่งน้ำเต้าหู้ ปาท่องโก๋อาหารเช้าที่เราคุ้นเคยกันดีนี้จะสร้างแบรนด์ขึ้นมาเปลี่ยนภาพจากน้ำเต้าหู้รถเข็นที่เคยเห็นยกระดับเป็นร้านน้ำเต้าหู้ติดแบรนด์ แถมยังพัฒนาผลิตภัณฑ์มีให้เลือกหลากหลาย กลายเป็นการกินน้ำเต้าหู้รูปแบบใหม่ที่ไม่ซ้ำซากจำเจ
วันนี้ถ้าบอกว่ามีคนไลฟ์ขายเสื้อผ้าได้วันละเป็นพันตัวคงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าย้อนไปเมื่อ 4 ปีก่อน ในยุคที่เฟซบุ๊กเพิ่งเริ่มมีฟังก์ชันไลฟ์ (Live) ร้านขายผ้าไทยในเมืองน่านที่ชื่อ “น่านบุรี” เคยไลฟ์ขายผ้าแฮนด์เมดได้ถึงวันละกว่า 600 ตัว
จากการต้องเตรียมตัวเป็นคุณแม่ของ วรพร มุสิกบุตร (โจ) และวรฤดี มุสิกบุตร (โจ้) สองพี่น้องฝาแฝดที่บังเอิญตั้งครรภ์พร้อมๆ กัน จนเกิดเป็นนวัตกรรมเบาะนอนสำหรับทารกเพื่อช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคไหลตายเด็กได้เป็นเจ้าแรกและเจ้าเดียวในไทย
จากการทำธุรกิจไอศกรีมแบบ B2B ให้กับโรงแรมและร้านอาหารต่างๆ มานานกว่า 8 ปี แต่หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 กลายเป็นที่มาของโมเดลธุรกิจใหม่ สร้างอีกหนึ่งประสบการณ์ทางเลือกของการสั่งซื้อไอศกรีมมารับประทานที่บ้าน ภายใต้ชื่อแบรนด์ “Molto Premium Gelato”
แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
วงจรของธุรกิจยุคนี้สั้นลง จนมีความเสี่ยงว่าธุรกิจครอบครัวที่ทำมาอาจไม่ได้ยืนยาวได้จนถึงรุ่นถัดไป ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงกำลังง่วนกับการรับมือวิกฤตตรงหน้า แต่ระหว่างนี้อย่าลืมเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับโลกอนาคตที่จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย