ถ้าพูดถึงประเทศที่มีมวลรวมความสุขมากที่สุดในโลก แน่นอนใครๆ ก็ต้องนึกถึงกลุ่มประเทศนอร์ดิก ได้แก่ เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ โดยเฉพาะฟินแลนด์ซึ่งครองแชมป์อันดับ 1 ถึง 5 ปีติดต่อกัน
ทุกวันนี้รูปแบบการทำงานขององค์กรต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการทำงานจากที่บ้าน การประชุมออนไลน์ การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้กระดาษ ฯลฯ เพื่ออำนวยความสะดวกในโลกปัจจุบัน
การสร้างทีมงานให้ทำงานเป็นทีมเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกปัจจุบันที่ความห่างไกลทำให้การรักษาความสัมพันธ์ของคนในทีมดูจืดจางลง
ลายคนคงเคยได้ยินคำว่า Burnout Syndrome หรืออาการหมดไฟในการทำงาน อาการ Burnout ส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่อยากหยิบจับทำอะไร รู้สึกสูญเสียพลังทางจิตใจ มองงานที่ทำอยู่ในเชิงลบ ขาดความสุข ไม่สนุก ปลีกตัวออกห่างจากเพื่อนร่วมงาน
ทุกวันนี้การทำงานเป็นทีมสำคัญมาก หากขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก็ยากที่จะประสบความสำเร็จได้
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
“ทำธุรกิจก็เหมือนกับม้าแข่งในสนาม มองเห็นแต่ลู่วิ่งด้านหน้า ปัญหาบางอย่างก็มองไม่เห็น เมื่อไร ที่ขยับขึ้นมานั่งในตำแหน่งกองเชียร์บนอัฒจันทร์ ก็จะเห็นภาพรวม ว่าปัญหาและจุดสำคัญอยู่ตรงไหน”
การทำธุรกิจครอบครัวเป็นอะไรที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์เข้ามาบริหารจัดการ วันนี้ชวนมาดูเทคนิคการบริหารธุรกิจครอบครัวไปกับ "พีระพัฒน์ เหรียญประยูร" จากธนาคารกสิกรไทยวิเคราะห์กัน
เวลาเกิดวิกฤตขึ้นมา นอกจากเงินกู้จากสถาบันการเงิน หรือแหล่งเงินทุนต่างๆ แล้ว ยังมีอีก 2 บุคคลสำคัญทางธุรกิจที่สามารถเข้ามาช่วยเสริมสภาพคล่อง พยุงกิจการของเราให้รอดพ้นจากวิกฤตไปได้หากบริหารจัดการได้ดี บุคคลที่ว่าก็คือ “ลูกหนี้การค้า” และ “ซัพพลายเออร์” ว่าแต่ต้องทำยังไงลองไปดูพร้อมกันเลย
เผลอแพร๊บเดียว เดือนมกราคมผ่านพ้นไปแล้ว เมื่อวันก่อนมีโอกาสนั่งคิดทบทวนถึงสิ่งที่ผ่านไปว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างและได้เรียนรู้อะไรในช่วงที่ผ่านมา นี่คือ 6 บทเรียนที่สถานการณ์วิกฤตสอนผม
ในการทำธุรกิจเรามักจะต้องเจอกับปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร การบริหารทีมงาน การตลาด บางทีก็ไม่รู้ว่าจะจัดการมันยังไง
ในโลกยุคใหม่ที่ทุกอย่างต้องถูกขับเคลื่อนด้วยความเร็ว การยึดหลักทำธุรกิจในรูปแบบเดิมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพออีกต่อไป