ติดตามเรื่องราวของ 3 ตัวแม่นักธุรกิจ “เจ๊จง-จงใจ กิจแสวง” แห่งหมูทอดเจ๊จง “เจ๊ง้อ-ณชนก แซ่อึ้ง” ผู้ก่อตั้ง ครัวเจ๊ง้อ และ “เจ๊เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” แห่ง ฟาสเทคโน ผู้ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างสาหัส แต่พวกเธอฟันฝ่ามันมาได้ ด้วยยาใจที่ชื่อ “ลูก”
“สปริงเคิล” น้ำดื่มสุดครีเอทีฟ ที่ชอบสร้างสรรค์สิ่งใหม่ออกมาเซอร์ไพรส์ได้อยู่เสมอ จากการออกคอลเลคชันต่างๆ ใครจะไปคิดว่าน้ำดื่มดังกล่าวนั้น จริงๆ แล้ว คือ แบรนด์น้ำถังใสเจ้าแรกของไทย อีกทั้งยังเป็นผู้พลิกฟื้นโรงงานผลิตน้ำดื่มที่เคยเกือบเจ๊งมาแล้ว
“เทรคกิ้งไทย” บริษัทท่องเที่ยวแบบเดินป่าพยายามหาทางรอดจากวิกฤติโควิด-19 ในเมื่อออกเดินทางไม่ได้ พวกเขาเปิดเส้นทางใหม่ ขยายตลาดขายอุปกรณ์เดินป่าและแคมปิ้งบนโลกออนไลน์ จนธุรกิจไปต่อได้แม้ยังไม่มีนักท่องเที่ยวสักคน
“วิเศษไก่ย่าง” คือร้านอาหารในตำนาน ที่เสิร์ฟความอร่อยมา 66 ปี จากร้านห้องแถวไม้เล็กๆ กลายเป็นภัตตาคารลุคทันสมัย ขยายธุรกิจไปสู่บริการรับจัดเลี้ยงทั้งในและนอกสถานที่ บริการเดลิเวอรี่ และเร็วๆ นี้ก็กำลังจะขยายไปสู่กลุ่ม Frozen Food
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก
“ทรัพย์สินทางปัญญา” คืออาวุธที่ใช่ของ SME ที่จะช่วยส่งเสริมธุรกิจได้ดีที่สุดในยุค New Normal ไม่จำเป็นต้องสู้ด้วยสิ่งที่เสียเปรียบ แต่ถึงเวลาสู้ด้วย “ทุนสมอง” สูตรเพิ่มแต้มต่อธุรกิจที่ SME ทำได้
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
ในช่วงที่ผ่านมามีการพูดถึง “Design Thinking” หรือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ว่าจะเป็นหนึ่งในคำตอบ และทางออกที่จะทำให้ธุรกิจเข้าใกล้ความสำเร็จ ปรับปรุงการทำงานได้ดีขึ้น และช่วยให้สินค้าที่ทำออกมาขายได้
ในปี 2020 นี้ เรียกได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของผลิตภัณฑ์ไทยในการยกระดับไปสู่การเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ด้วยพลังของการออกแบบ โดย Demark Award ที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 13 ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Circular Design, Cycle of Life ดีไซน์ หมุนเวียน เปลี่ยนโลก
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
การมาถึงของโควิด-19 เหมือนสึนามิที่ล่มเรือธุรกิจเวดดิ้ง สำหรับ “แคทลียา ท้วมประถม” หนึ่งในผู้เล่นสนามนี้ เธอยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง เลือกปรับตัวและรับมือ โดยการไปหาจักรวาลใหม่ให้ธุรกิจได้ไปต่อ โดยไม่ท้อและมีความหวังอยู่เสมอ