“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
การมาถึงของโควิด-19 เหมือนสึนามิที่ล่มเรือธุรกิจเวดดิ้ง สำหรับ “แคทลียา ท้วมประถม” หนึ่งในผู้เล่นสนามนี้ เธอยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง เลือกปรับตัวและรับมือ โดยการไปหาจักรวาลใหม่ให้ธุรกิจได้ไปต่อ โดยไม่ท้อและมีความหวังอยู่เสมอ
LifeGem ผู้รับผลิตเพชรสังเคราะห์จากเถ้ากระดูกของมนุษย์ ก่อตั้งโดย “Greg Herro” และ “Dean VandenBiesen” เป็นบริษัทแรกๆ ในสหรัฐอเมริกาที่มีการพัฒนาวิธีการเปลี่ยนคาร์บอนจากเถ้ากระดูกและเส้นผมของมนุษย์ที่ตายแล้ว สกัดออกมาเป็นอัญมณีเลอค่าอย่างเพชร
แม้ประเทศไทยจะสามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้โดยไม่มีการระบาดระลอกสองเกิดขึ้นและมีการทยอยเปิดเมืองแล้วก็ตาม แต่เราอาจไม่สามารถคาดหวังการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอย่างฉับพลัน
ปัจจุบันเกษตรกรไทยเริ่มมีการนำผลิตผลทางการเกษตรออกมาจำหน่ายออนไลน์มากยิ่งขึ้น เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อก็ต้องส่งผ่านทางไปรษณีย์ TISTR จึงวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ออกมาเพื่อช่วยให้การส่งผลผลิตทางการเกษตรสะดวกสบายและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
“สมชนะ กังวารจิตต์” นักออกแบบมือรางวัลระดับโลก ผู้ก่อตั้ง Prompt Design บริษัทออกแบบสัญชาติไทยที่สามารถคว้ารางวัลระดับโลกมาครองได้มากกว่า 70 รางวัล
ไม่มีคำว่าเหมือนเดิมอีกต่อไป หลังจากที่ไวรัสโควิดมาเยือน ทุกอย่างเปลี่ยนไปโดยเฉพาะวิถีการทำงานที่องค์กรต้องปรับตัวกันอย่างหนัก เช่น การให้พนักงาน Work From Home เป็นต้น
เมื่อวิศวกรหนุ่มอดีตนักศึกษา MIT สหรัฐอเมริกา กลับมาสานต่อกิจการรีสอร์ทของครอบครัว ที่อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เกมธุรกิจบทใหม่จึงเริ่มขึ้น ด้วยการแจ้งเกิดโรงแรมน้องใหม่ “ริเวอร์ตัน อัมพวา” ...ทว่าวันเปิดโรงแรมกลับต้องเจอกับโควิด-19 เข้าอย่างจัง
Infinium Global Research บริษัทที่ปรึกษาด้านธุรกิจและการวิจัยตลาด คาดว่า ตลาดหนังวีแกนจะสร้างมูลค่าได้สูงถึง 89.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ ภายในปี 2568 และมีอัตราการเติบโตต่อปี 49.9 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงที่คาดการณ์ (2562 - 2568)
หลายธุรกิจที่ดำเนินกิจการมาอย่างยาวนาน บางครั้งเหตุผลก็ไม่ใช่เพียงแค่รายได้ก้อนงาม แต่อาจหมายถึงการทำหน้าที่บางอย่าง เพื่อสร้างทางเลือกให้กับผู้บริโภค หรือแม้แต่การดำรงมรดกของครอบครัวให้คงอยู่สืบไปเท่านั้น
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
ในภาวะวิกฤตมีหลายธุรกิจที่ต้องล้มลง “เมธาวี อ่างทอง” คือหนึ่งในผู้ประกอบการที่เจอกับวิกฤตครั้งแล้วครั้งเล่า ทว่าเธอลุกขึ้นมาใหม่ และแต่ละครั้งก็ได้เรียนรู้ข้อบกพร่องแล้วอุดช่องโหว่ไม่ให้ตัวเองต้องก้าวพลาดซ้ำในจุดเดิม