หลงใหลในตัวเลข ชื่นชอบคณิตศาสตร์ สนใจด้านการตลาด และชอบคิดอะไรต่างจากคนอื่น คือสิ่งที่นำพาให้ “อริสา กุลปิยะวาจา” ผู้ก่อตั้งแบรนด์ 137 ดีกรี ตัดสินใจไปศึกษาต่อด้าน Data Analytics และได้นำวิธีคิดแบบ Data Scientist มาใช้ในการดำเนินธุรกิจวันนี้
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
เขาว่าความสวยรอไม่ได้ แม้ในวิกฤตไวรัสแต่ใครล่ะจะอยากหยุดสวย ธุรกิจความงามเลยยังคงอยู่รอดและไปต่อได้แม้ในสถานการณ์โควิด-19
แม้สินค้าจะผลิตออกมาดีเพียงใด แต่รู้ไหมว่าการวาง Brand Positioning หรือตำแหน่งแบรนด์ผิดที่นั้น สามารถสร้างความเสียหายให้กับแบรนด์ได้จนเกือบเจ๊งเลยทีเดียว เรื่องนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้วกับ “Ray-Ban” แบรนด์แว่นสุดคลาสสิกที่มีอายุกว่า 80 ปี
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก
ในวันที่เกิดวิกฤตไวรัสโควิด-19 ความรู้และประสบการณ์ในอดีตกลายเป็นเรื่องเก่าที่เอามาใช้แก้สถานการณ์ไม่ได้ ท้าทายการทำธุรกิจของ SME ถึงเวลาพลิกตำราสู้เพื่อก้าวข้ามวิกฤตไวรัส ด้วยการคิดอย่าง..เสือ
กลุ่มผู้บริโภคในอาเซียนที่ใส่ใจประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยพวกเขาพร้อมมีส่วนร่วมช่วยผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม ส่งผลต่อแนวคิดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ
“สมชนะ กังวารจิตต์” นักออกแบบมือรางวัลระดับโลก ผู้ก่อตั้ง Prompt Design บริษัทออกแบบสัญชาติไทยที่สามารถคว้ารางวัลระดับโลกมาครองได้มากกว่า 70 รางวัล
จากสถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้รูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันต้องเปลี่ยนไปหลายอย่าง หนึ่งในนั้น คือ การเปลี่ยนมาใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ทำงานรูปแบบ Work From Home กันมากขึ้น ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคให้เปลี่ยนแปลงไป
ร้านขายของคีโตอาจดูเป็นธุรกิจไม่ยาก แค่หยิบของคีโตมาวางขายในร้าน แต่ร้านที่จะได้ใจลูกค้าคงต้องมีอะไรมากกว่านั้น อย่าง ร้าน COUP de CARB ที่ไม่ได้เป็นเพียงร้านขายสินค้าธรรมดาๆ ทว่าต้องการเป็น Community ที่รวมตัวคนที่ชอบอะไรเหมือนๆ กัน
ในช่วงเวลานี้ธุรกิจยังคงเผชิญหน้ากับภาวะวิกฤตอย่างหนักหน่วง และยังไม่มีท่าทีจะบางเบาลงได้ง่ายๆ ในสถานการณ์เช่นนี้ ธุรกิจสามารถลดความรุนแรงของผลกระทบหรืออาจพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสได้ เพียงแค่ลองนำหลักการ “Lean” เข้ามาใช้ ลองมาทำความเข้าใจเรื่องนี้ไปพร้อมกัน