ธพว.ยกขบวนช่วยเหลือ SME ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ชูแนวทางให้ “ความรู้คู่ทุน” แจงด้านการเงิน เยียวยาลดภาระค่าใช้จ่าย บรรเทาผลกระทบไปแล้วกว่า 4 หมื่นราย
จากสถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้รูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันต้องเปลี่ยนไปหลายอย่าง หนึ่งในนั้น คือ การเปลี่ยนมาใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ทำงานรูปแบบ Work From Home กันมากขึ้น ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคให้เปลี่ยนแปลงไป
วิกฤตไวรัสกำลังปรับเปลี่ยนอุปนิสัยและพฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคชาวไทยไปจากเดิม โดยคนมีความกังวลเรื่องสุขภาพทางการเงินมากกว่าสุขภาพร่างกาย ปรับตัวและให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการเรื่องการเงินของตนเองมากขึ้น ราคามีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
วันนี้ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ไทยอาจกำลังบาดเจ็บจากวิกฤตไวรัส แต่ในวันที่ทุกอย่างสงบลง นั่นคือโอกาสที่จะได้เริ่มต้นใหม่อีกครั้ง ด้วยกลยุทธ์ใหม่ และ Mindset ที่แปรเปลี่ยน จากเคยกินอิ่ม ต้องสมถะลง รักษาสมดุล และคำนึงถึงโจทย์ใหม่ๆ ในวิถี New Normal
เมื่อวิศวกรหนุ่มอดีตนักศึกษา MIT สหรัฐอเมริกา กลับมาสานต่อกิจการรีสอร์ทของครอบครัว ที่อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เกมธุรกิจบทใหม่จึงเริ่มขึ้น ด้วยการแจ้งเกิดโรงแรมน้องใหม่ “ริเวอร์ตัน อัมพวา” ...ทว่าวันเปิดโรงแรมกลับต้องเจอกับโควิด-19 เข้าอย่างจัง
การมาถึงของไวรัสตัวร้าย ทำให้ผู้คนมีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตของตัวเองมากขึ้น มีรูปแบบการใช้ชีวิตที่แปรเปลี่ยน ตลอดจนความต้องการที่เปลี่ยนไป เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียที่กำลังจะพลิกโฉมหลังโควิด-19
วิกฤตไวรัสโควิด-19 ทำให้หลายกิจต้องปรับตัว ไม่ว่าจะกิจการขนาดเล็กหรือใหญ่ เช่นเดียวกับ “รุ่งเรือง ซุปเปอร์มาร์เก็ต” ร้านค้าชุมชนเล็กๆ ย่านตลาดกิติพร อ้อมน้อย สมุทรสาคร ที่มีการปรับรูปแบบการให้บริการแก่ลูกค้าในช่วงไวรัสกำลังระบาดไม่ต่างจากธุรกิจขนาดใหญ่
ในยามที่เกิดวิกฤตนับเป็นความท้าทายของผู้ประกอบการ SME อย่างยิ่ง ที่จะต้องนำพาองค์กรข้ามผ่านวิกฤตนั้นไปให้ได้ โดยที่องค์กรยังแข็งแกร่ง ลูกค้ายังภักดี ขณะที่พนักงานก็ยังคงมีไฟและมีใจกับองค์กร
การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้คน คนไม่ออกไปจับจ่ายใช้สอย ทำให้กลไกระบบเศรษฐกิจติดขัดหยุดชะงัก ส่งผลต่อรายได้ภาคธุรกิจและทำให้การจ้างงานกว่า 16 ล้านคนในภาคธุรกิจลดลง กระทบต่อกำลังซื้อของแรงงานเป็นอย่างมาก
โมเดลธุรกิจอย่างแฟรนไชส์ มักถูกใช้เป็นไม้ตายของคนที่อยากลงทุนทำกิจการแต่ไม่กล้าเสี่ยงแบบเต็มตัว โดยเฉพาะในช่วงนี้ ที่หากธุรกิจไหนได้รับผลกระทบ ดำเนินกิจการไม่ได้ คนก็เริ่มมองหาธุรกิจใหม่ที่มาทดแทนรายได้ที่สูญเสียไป และหนึ่งในนั้นก็คือ “แฟรนไชส์”
ในยุคที่สภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยน ลูกค้าลดลง คนระวังการใช้จ่าย และยังกลัวพิษภัยของไวรัส ผู้ประกอบการร้านอาหาร ต้องเร่งปรับตัวสู่บรรทัดฐานใหม่ในการทำธุรกิจ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป และยังอยู่รอดได้ในโลกใบใหม่นี้
ในที่สุดเวลาที่ผู้ประกอบการธุรกิจหลายคนรอคอยก็มาถึง เมื่อรัฐบาลประกาศผ่อนปรนกิจการบางประเภทให้สามารถเปิดให้บริการได้ อาทิ ร้านอาหาร ตลาด ร้านตัดผม ร้านเสริมสวย สนามกีฬา ร้านตัดขนสัตว์