ธุรกิจที่มีกระแสเงินสดดีอยู่แล้วและมีฐานเงินทุนที่มากพอ มีความจำเป็นต้องกู้เงินจากธนาคารให้เป็นภาระอีกหรือไม่?? หรือจะรับข้อเสนอจากสถาบันการเงิน ตัดสินใจกู้มาลงทุนหรือขยายธุรกิจเพิ่มดีล่ะ
“เบนซ์-ศรัณย์ เกียรติเทพขจร” เจ้าของช่อง DBigbike ทายาทรุ่น 2 ของ “ดีเจริญยนต์” ธุรกิจที่เริ่มจากซื้อ-ขายรถยนต์และจักรยานยนต์มือสอง จนวันนี้กลายเป็นอาณาจักรของคนรักบิ๊กไบค์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในโลกออนไลน์และออฟไลน์
การปรับตัวเองไปสู่ร้านหนังสือออนไลน์ ขายสินค้าที่เป็น E-Book เพื่อรับนักอ่านยุคดิจิทัลก็เป็นอีกโมเดลหนึ่ง แต่ทราบไหมว่า แม้แต่การขายหนังสือดิจิทัลให้กับผู้บริโภควันนี้ก็ต้องทำอย่างมีกลยุทธ์
เพราะวิกฤตโควิด-19 เอเชี่ยน พลัส ทราเวล แอนด์ เซอร์วิส กลับใช้โอกาสนี้มาปฏิวัติตัวเองด้วยโมเดลธุรกิจใหม่ และใช้เวลาแค่ 3 เดือน สามารถแจ้งเกิดทัวร์ของเพศทางเลือก และพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับเพศทางเลือกเป็นรายแรกของไทยได้สำเร็จ
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
Value for Money (VfM) หรือ “ความคุ้มค่าเงินที่จ่ายไป” กำลังเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง เพราะมุมมองของนักท่องเที่ยวกำลังเริ่มพิจารณามากขึ้นว่าเงินที่เขาจ่ายไปเหมาะสมกับสิ่งที่ได้รับหรือไม่?
ธุรกิจอะไรล่ะที่น่าทำ กำลังเป็นเทรนด์ และมีความหวังสุดในอนาคต และดูจะเป็นแต้มต่อของประเทศไทยเสียด้วย คำตอบก็คือ F-A-T-E
ก่อนจะฝันไปไกลและต้องตกม้าตายกลางทาง ต้อง “ดึงสติ” ให้หลุดจากโรคหลงตัวเองเพื่อเผชิญหน้าความจริงที่ว่า เริ่มต้นธุรกิจแบบไหนก็เจ๊งได้ถ้าไม่เข้าใจปัญหาของลูกค้า
การมี Story จะช่วยให้เรามีภูมิต้านทานต่อคู่แข่งได้ ต่อให้ศัตรูจะมีผลิตภัณฑ์ที่เหนือกว่าเรา แต่เขาไม่สามารถเอาชนะ Story ของเราได้ และการสร้าง Story ในปัจจุบัน คงไม่มีสื่อใดเหมาะไปกว่า Facebook อีกแล้ว
ในยุคที่เศรฐกิจขาขึ้น คือขาขึ้นมาก่ายหัวกันแบบนี้ ไม่ใช้แขนก่ายกันแล้ว คนทำธุรกิจหลายคนคิดไม่ตกเลยว่าจะหันไปทางไหนดีถึงจะมีทางออกและอยู่รอดในเหตุการณ์ปัจจุบันได้ แค่ "โครงการคนละครึ่ง" ได้เข้ามาเป็นตัวช่วยในภาวะเช่นนี้
จากคำเคยกล่าว “ปู่สร้าง พ่อขยาย ลูกหลานทำเจ๊ง” ธุรกิจอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น วันนี้อายุไขธุรกิจอาจสั้นไปกว่านั้น ทำอย่างไรธุรกิจครอบครัวถึงจะยังคงอยู่ และแข็งแกร่งเหนือความเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤต
กลยุทธ์ที่ดีเป็นหลักประกันความสำเร็จของธุรกิจ ธุรกิจที่ไม่มีกลยุทธ์อาจรอดหรือไม่รอดก็ได้ แต่ธุรกิจที่มีกลยุทธ์ห่วยแตกปลายทางสุดท้ายมีแต่ตายกับตาย นี่คือ อาการ 4 อย่างของกลยุทธ์ห่วยแตกที่ต้องตรวจเช็กให้เจอ แล้วกำจัดมันซะ