ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
หากเป็นแถบเอเชีย อาจไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้คนจะแสวงหาที่ยึดเหนี่ยว หรือความมั่นใจในการตัดสินใจกระทำการใด ๆ โดยการปรึกษา “ผู้หยั่งรู้” ที่มาในรูปแบบต่าง ๆ แต่ถ้าเป็นฝั่งตะวันตกอย่างยุโรปหรืออเมริกา อาชีพแบบนี้อาจไม่แพร่หลายแต่ก็ใช่ว่าจะไม่มี วันนี้เลยจะพาไปรู้จักแคนดิส พิตต์ สาวอเมริกันวัย 33 ปีผู้ทิ้งงานประจำในตำแหน่งฝ่ายขายเพื่อมาเปิด “The Royal Shaman”
หลังจากที่ประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลออกมาในปี 2561 ทาง ก.ล.ต. ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลได้มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต่างๆ ออกมาอย่างต่อเนื่องและล่าสุดกำลังจะมีการเปลี่ยนแปลงเรื่องของการออกโทเคนดิจิทัล
ธุรกิจไหนที่เติบโตได้ดีก็มักมีการแข่งขันสูง เช่น ตลาดเนื้อสัตว์ทางเลือก ทำให้ผู้ที่อยู่ในธุรกิจต้องหาวิธีใหม่ๆ ที่ทำให้สินค้ามีความโดดเด่นกว่าแบรนด์อื่นๆ วันนี้เราจะพาไปดูแนวคิดที่นอกกรอบของบริษัท Primeval Foods ที่เพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์ทางเลือกที่แปลกใหม่แตกต่างจากคู่แข่งอย่างสิ้นเชิง
จากธุรกิจกงสี 70 ปีร้านบะหมี่แป๊ะสุน ต่อยอดสร้างรายได้บน YouTube คุณพ่อเป็นนักแสดง คุณลูกเป็นตากล้อง
ถ้าใครอยู่ละแวกชลบุรีคงไม่มีใครไม่รู้จักร้านบะหมี่ “แป๊ะสุน” ยึดทำเลในตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตลาดใหญ่ จ. ชลบุรี เปิดขายมากว่า 70 ปี ที่ไม่เพียงเป็นตำนานทำแป้งแบบนวดมือเจ้าเดียวในชลบุรี แต่ยังต่อยอดธุรกิจกงสีให้เข้ากับยุคสมัยผ่านช่องทาง YouTube
ช่วงสงกรานต์นอกจากหลายคนจะได้หยุดยาวแล้วยังถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยที่หลายคนนิยมไปทำบุญตักบาตรเบิกฤกษ์เอาชัยให้โชคดี นี่คือการเสริมมงคลช่วงสงกรานต์คนเกิดแต่ละเดือน ทำนายโดย ซินแสมาสเตอร์อลิซ สร้างเมจิก ให้ชีวิตมีทางออก
บริการให้เช่าพื้นที่ขนาดต่าง ๆ เพื่อจัดเก็บสิ่งของหรือที่เรียกว่าธุรกิจ storage นั้นอาจไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ก็เพิ่งได้รับความนิยมมาสัก 10 ปีนี่เองโดยเฉพาะในเขตเมืองที่มีพื้นที่จำกัด
“ฉิบหายไม่ว่าเอาหน้าไว้ก่อน” ประโยคแรงที่เพื่อนสนิทมักใช้แซว ทิวาพร เสกตระกูล หรือครูเอ๋ เจ้าของแบรนด์ เทวาภิรมย์ น้ำปรุงไทยตำรับชาววัง
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสเสมอ ประโยคที่หลายคนคงคุ้นเคย แต่จะมีสักกี่คนที่พอจะรู้ว่าแล้วเราจะสร้างโอกาสได้อย่างไร และก็คงมีอีกหลายๆ คนเช่นกัน ที่อยากรู้ว่าจะสร้างโอกาสจากวิกฤตได้อย่างไร
คงไม่มีใครที่จะสามารถเอาใจทุกคนได้หมด หลายธุรกิจจึงเลือกที่จะปล่อยผ่านลูกค้าที่หงุดหงิดง่าย หรือคุยด้วยยากไป แต่เคยลองวิเคราะห์กันไหว่าการที่ลูกค้าเป็นแบบนั้นเกิดจากสาเหตุอะไร เพราะข้อมูลที่ได้กลับมาบางทีจะเป็นโอกาสช่องทางในการทำตลาดก็เป็นได้ หนึ่งในวิธีที่จะทำให้รู้ได้ข้อมูลเหล่านั้นก็คือการทำ Customer Journey Map
ถ้าให้ผลิตสินค้าสักชิ้นขึ้นมาขายเชื่อว่าเอสเอ็มอีบ้านเราสามารถทำได้อย่างไม่ยากเย็น แต่ทักษะอย่างหนึ่งที่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีบ้านเราส่วนใหญ่ยังขาด คือ ประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจ
จากทีมแชมป์ประกวดแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยและเขียนแผนธุรกิจเมื่อ 15 ปีที่แล้ว กลายเป็นจุดเริ่มต้นของบริษัท Sellsuki (เซลสุกิ) ที่วันนี้มีรายได้หลักร้อยล้านบาท ปัจจัยอะไรที่ทำให้องค์กรของเขาเติบโตมาได้ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจและการแข่งขันที่หนักหน่วง