ในโลกธุรกิจทุกวันนี้ การค้าขายอยู่แต่ในประเทศเพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอต่อการเติบโตของธุรกิจอีกต่อไป ‘Cross Border e-commerce’ หรือการค้าออนไลน์อี-คอมเมิร์ซระหว่างประเทศ จึงนับเป็นอีกทางเลือกที่น่าสนใจในยุคที่โลกสื่อสารถึงกันได้อย่างไรพรมแดน
Experience คือการสร้างประสบการณ์ของลูกค้า อาวุธทรงพลังที่จะใช้รับมือสงครามการตลาดยุคใหม่ ในวันที่ประตูไปสู่หัวใจผู้บริโภคดูซับซ้อนขึ้นทุกวัน ขณะที่การแข่งขันก็ยังคงรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
วันนี้ดิจิทัลเป็นส่วนสำคัญที่ส่งเสริมให้ทำธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น เป็นเทรนด์ที่เอไอเอสมองเห็นและหันมาสนับสนุนผู้ประกอบการ SME ไทย ให้เติบโตไปพร้อมกับเทคโนโลยี ค้าขายได้ดียิ่งขึ้นบนโลกอี-คอมเมิร์ซ และโซเชียลคอมเมิร์ซ
เมื่อเครื่องมือดิจิทัลถูกพัฒนาขึ้นมาใช้เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน แค่ SME เข้าใจเครื่องมือและวิธีการใช้ซึ่งไม่ได้จำกัดแค่การขายออนไลน์ แต่ต้องทะลุไปถึงระบบหลังบ้าน เปลี่ยนชั่วโมงที่สูญเปล่าให้เป็นชั่วโมงทำเงินได้ในพริบตาเดียว
เป็นเวลาเกือบ 2 ทศวรรษที่ ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ ผู้ก่อตั้ง Tarad.com เดินอยู่บนเส้นทางสายอี-คอมเมิร์ซ ในยุคที่อี-คอมเมิร์ซเมืองไทยกำลังเข้าสู่ความท้าทายครั้งใหม่ในสายตาผู้ที่ผ่านร้อนผ่านหนาวเขามองเห็นการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ไปฟังคำตอบกัน
เวลาผ่านไปทำให้โลกเราเชื่อมกันมากขึ้นทางออนไลน์ เทรนด์ Cross-border e-commerce จึงเป็นโอกาสใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่อยากพาธุรกิจของตัวเองไปบุกตลาดต่างประเทศ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของประเทศที่สามารถสร้างรายได้ถึง 2 ล้านล้านบาทในปี 2661 ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวและโรงแรมจึงมีความต้องการแรงงานที่เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
ในวันที่ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ยุค Aging Society หรือสังคมผู้สูงวัย ผู้ประกอบการมองว่านั่นคือโอกาสทำกำไรจากตลาดนี้ แต่ในทางกลับกันพลเมืองสูงวัยเองก็คว้า ‘โอกาส’ รีไทร์ตัวเองจากงานประจำที่เคยทำออกมาเป็น ‘เถ้าแก่’ ทำธุรกิจกับเขาดูสักตั้ง
บมจ.ธนาคารธนชาต ประกาศความสำเร็จในการพัฒนาต่อยอดการใช้มาตรฐาน QR Code สำหรับชำระเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ข้ามประเทศเป็นครั้งแรก โดยความร่วมมือกับธนาคารการค้าต่างประเทศลาว BCEL
แม้ธุรกิจเดิมจะสามารถสร้างการเติบโตให้กับธุรกิจหรือแบรนด์ได้มากสูงสุด แต่อาจตอบโจทย์คนเพียงกลุ่มเดียว อนาคตอาจชนเพดานเข้าสักวันหนึ่ง ด้วยวิสัยทัศน์ ‘ชาตยา สุพรรณพงศ์’ ทายาทรุ่นที่สองแห่งอาณาจักรบาร์บิคิวพลาซ่า จึงได้แตกไลน์ธุรกิจสร้างสรรค์แบรนด์ธุรกิจใหม่ๆ ให้เข้ามาอยู่ในอาณาจั..
ด้วยมูลค่าการนำเข้าผ่านอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดน (cross-border e-commerce: CBEC) ของชาวจีนในปี 2020 จะมีมูลค่าอยู่ที่ราว 3 ล้านล้านหยวน ด้วยอัตราการเติบโตราว 30 เปอร์เซ็นต์ต่อปี CBEC นับเป็นมูลค่าตลาดที่ SME ไทยไม่อาจมองข้าม
ตลาดร้านอาหารเกาหลีในประเทศไทยมีมูลค่าตลาดสูงถึง 2,000 ล้านบาท เป็นที่มาของดีลแห่งปี ฟู้ดแพชชั่น เทคโอเวอร์ “Red Sun” ร้านอาหารเกาหลีที่อยู่ในไทยมา 4 ปี เข็นแบรนด์ให้เป็นเบอร์หนึ่งร้านอาหารเกาหลีในประเทศไทย