นับเป็นอีกหนึ่งข่าวดีเมื่อภาครัฐ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) หรือดีพร้อม เปิดแนวทางการส่งเสริมผู้ประกอบการ และภาคธุรกิจอุตสาหกรรมผ่านนโยบาย “ดีพร้อมแคร์ : DIPROM CARE” สนับสนุนภาคธุรกิจให้เติบโต
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่ยังคงดำเนินต่อไปและมีแนวโน้มที่จะใช้เวลาอีกพักใหญ่กว่าจะคลี่คลายเข้าสู่ภาวะปกติ แบงก์ชาติจึงได้ร่วมกับสถาบันการเงินเปิดตัวโครงการแก้หนี้สำหรับภาคธุรกิจ “DR BIZ การเงินร่วมใจ ธุรกิจไทยมั่นคง”
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาโควิด-19 ระลอก 3 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและธุรกิจให้ตกต่ำลง หน่วยจากภาครัฐ สถาบันการเงินต่างๆ จึงเร่งออกมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ SME
“ธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ” เป็นธุรกิจที่ยังเติบโตสวนทางกับธุรกิจอื่นๆ เพิ่มฐานลูกค้า สร้างการเติบโตทางรายได้และขยายสู่โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เดอะ ฟินแล็บ มีคำแนะนำ 5 ข้อสำหรับ SME ที่ต้องการเข้าถึงตลาดอี-คอมเมิร์ซที่กำลังเฟื่องฟู ไปดูพร้อมๆ กัน
ผู้หญิงคนหนึ่งเดินหิ้วโครงไม้ลามิเนตไปบุกบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังอย่าง “แสนสิริ” เพื่อนำเสนอขายสินค้า โดยที่บริษัทพึ่งตั้ง ประสบการณ์ทำงานเท่ากับศูนย์ และมีสินค้าทั้งบริษัทแค่ 1 ตัวเท่านั้นก็คือ “พื้นไม้ลามิเนต” แต่เธอขายงานได้!
ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว
ภายในกันยายน – ตุลาคม 2563 จะเป็นช่วงรอยต่อสำคัญสำหรับ SME เนื่องจากมาตรการพักชำระหนี้จะสิ้นสุดลง ซึ่งด้วยสถานการณ์เศรษฐกิจยังคงมีความไม่แน่นอนสูง จึงอาจมีความจำเป็นที่ต้องพิจารณาต่ออายุโครงการ และการออกมาตรการใหม่เพื่อช่วย SME
รมว.อุตสาหกรรม มอบนโยบายให้ ธพว. เดินหน้าเติมทุนสินเชื่อเงื่อนไขพิเศษช่วย SME ตั้งเป้าอนุมัติสินเชื่อ 40,000 ล้านบาท ช่วย SME ได้ 24,000 กิจการ รักษาการจ้างงาน 120,000 ราย สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า 90,000 ล้านบาท