มีความคล้ายคลึงกันหลายอย่างระหว่างนักกีฬาระดับโลกกับผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ พวกเขาได้รับแรงผลักดันที่จะไล่ตามเป้าหมายและทำงานอย่างหนักเพื่อให้บรรลุถึงเป้านั้น
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้บีบบังคับให้ผู้ประกอบการต้องสู้ยิบตา ถ้าไม่สู้ก็ไม่รอด วันนี้เราจึงขอหยิบนำมาเล่าต่อให้ฟังจาก 2 เคสตัวอย่างของ 2 ผู้ประกอบการที่มีวิธีการรับมือจากวิกฤตแตกต่างกันไป จะเป็นใครนั้นลองไปดูกันเลย
ธุรกิจในแทบทุกอุตสาหกรรมคือการขายต่อ ซ่อมแซม นำกลับมาใช้ใหม่ หรือเอามารีไซเคิล อาจกลายเป็นโอกาส ให้ประโยชน์กับทุกฝ่ายเพราะได้วัตถุดิบที่ถูกกว่าสำหรับธุรกิจ สินค้าราคาถูกสำหรับผู้บริโภค
จากภาพจำของผู้คนที่ถ้าบอกว่ามาจากจีนต้องนึกถึงสินค้าคุณภาพแย่ แบรนด์นี้สามารถลบภาพนั้นออกจากหัวชาว Gen Z ได้ แต่ด้วยเหตุผลอะไรจึงทำให้ผู้บริโภคชื่นชอบจนมีลูกค้าเหนียวแน่นกว่า 100 ล้านรายทั่วโลกกันนะ
หากสตาร์บัคส์คือแบรนด์ที่แมสจนคนทั่วโลกรู้จัก แบรนด์ Black Rifle Coffee Company หรือ BRCCคือ ขั้วตรงข้าม เป็นร้านกาแฟที่เฉพาะกลุ่มสุดๆ
“Tamagotchi” (ทามาก็อตจิ) ของเล่นสัตว์เลี้ยงเสมือนจริงไอเทมสุดฮอตของผู้บริโภคยุค 90s ที่จู่ๆ วันนี้กระแสทามาก็อตจิก็กลับมาอีกครั้ง แถมมาในรูปแบบที่แปลกตาออกไปด้วย
การสร้างเงินล้านนั้นไม่มีสูตรสำเร็จ และไม่มีข้อจำกัดว่าต้องเกิดมาในกองเงินกองทองเท่านั้น แม้แต่คนที่ต้นทุนต่ำอย่าง หัฏฐะพล มลคาน ก็สามารถสร้างตัวจากของใกล้ตัวกลายเป็นเจ้าของแบรนด์ SEA FRIDAY ผู้คิดค้นแหนมปูม้าเป็นรายแรกของไทย
ปัญหาการส่งออกทุเรียนสดแบบแกะพูจะมีอุปสรรคที่สำคัญคือ อายุการเก็บรักษาสั้น จึงต้องมีการควบคุมคุณภาพอย่างใกล้ชิดจากต้นทางของผู้ผลิต จนถึงปลายทางคือผู้บริโภค
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อธุรกิจมากมาย ล่าสุด DIProm หน่วยงานภาครัฐได้ออก 5 มาตรการเร่งด่วนช่วย SME แก้ปัญหา โดยใช้เวลาดำเนินการ 60 วันด้วยกัน
ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมโปรตีนทางเลือกมีความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด จนกลายเป็นกระแสหลักไปแล้ว ซึ่ง Green Queen ได้คาดการณ์แนวโน้มโปรตีนทางเลือก 13 อันดับที่น่าจับตามอง
จากตัวเลขส่งออกที่เพิ่มขึ้นประกอบกับกระแสความต้องการทุเรียนจากตลาดจีน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองการส่งออกทุเรียนสดของไทยในปี 2564 น่าจะเร่งตัวได้ราว 35-40 เปอร์เซ็นต์ มีมูลค่า 2,800-2,900 ล้านดอลลาร์ฯ
สสว. เตรียมให้ความช่วยเหลือ SME ผ่านระบบผู้ให้บริการสนับสนุนด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business Development Service : BDS) หรือการจ่ายคนละครึ่งภาค SME เพื่อสร้างทางเลือกให้กับ SME ในการพัฒนาธุรกิจของตนเองให้ตรงตามความต้องการมากขึ้น