ย้อนไปเมื่อ 15 ปีก่อน เมื่อผู้บริโภคในไทยต่างเริ่มหันมาดูแลใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น แต่กลับมีช่องว่างในตลาด ผัก ผลไม้สดมีวางขายอยู่มากมายในท้องตลาด แต่กลับยังไม่มีแบรนด์ใดเลยที่หันมาจริงจังกับการแปรรูปให้เป็นผัก ผลไม้พร้อมรับประทานแบบได้มาตรฐาน
ที่มาของบทความนี้มาจากการเตือนความจำในเฟซบุ๊กของผู้เขียน เมื่อตอนเริ่ม Set up Brand กาแฟ Meffceo
"จินตะ" ไอศกรีมโฮมเมดของคุณพ่อยอดนักสู้ที่ตั้งใจทำให้ลูกสาว โดยหยิบสิ่งรอบตัวมาทำได้หมด ตั้งแต่ผัก ผลไม้ ลามไปจนถึงอาหารทะเล รังสรรค์เป็นรสชาติแปลกใหม่
เทรนด์การตลาดที่มาแรงที่สุดในตอนนี้ต้องยกให้ “กล่องสุ่ม” ที่สุ่มกันตั้งแต่สินค้าแฟชั่นอย่างเสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องสำอาง อาหารทะเล ผัก-ผลไม้ และล่าสุดที่เป็นกระแสสุดๆ เมื่อพิมรี่-พายขายกล่องสุ่มทั้งกล่องละ 10,000 และ 100,000 สร้างรายได้หลักร้อยล้านได้ภายใน 5 นาที
นับเป็นข่าวดีท่ามกลางสถานการณ์วิกฤตสำหรับตลาดส่งออกของไทยที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา ที่ขยายตัวสูงถึง 13.1 เปอร์เซ็นต์ YOY ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวสูงที่สุดในรอบ 36 เดือน
ใครจะคิดว่าขยะเหลือทิ้งและของเสียในกระบวนการผลิตมะม่วงเบาแช่อิ่ม อย่างเปลือกมะม่วงและน้ำเชื่อม จะกลายร่างสู่เครื่องดื่มไซเดอร์มะม่วงเบาไร้แอลกอฮอล์ขึ้นมาได้
วันแรกที่มะเขือเทศ Take Me Home วางขายในตลาดขายส่งผัก-ผลไม้เมืองเชียงใหม่ ทำยอดขายไปได้ทั้งสิ้น “0 บาท!” ผ่านมา 15 ปี มะเขือเทศที่คนเมินใส่ในวันแรก เติบใหญ่กลายเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายมะเขือเทศสดในระบบไฮโดรโปนิกส์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
“บ้านไร่ ไออรุณ” ฟาร์มสเตย์ชื่อดังในพื้นที่อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ปรับตัวสู้โควิดรอบ 2 ด้วยการเปลี่ยนรถสองแถวไม้รับส่งนักท่องเที่ยว แปลงร่างมาเป็นรถพุ่มพวงสุดคลาสสิกขายผัก ผลไม้ สดๆ ปลอดสารพิษจากไร่ออกมาสู้วิกฤตกัน
ภายใต้การนำของ วิภาวี วัชรากร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วัชมนฟู้ด จำกัด กำลังผลักดันให้บริษัทฯ ก้าวไปข้างหน้าอีกขั้น ด้วยการเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยดิจิทัล เพื่อให้เป็นจุดสตาร์ทของแผนการขยายขนาดธุรกิจในอนาคต
ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ท่ามกลางวิกฤตไวรัสโควิด-19 การค้าชายแดนและผ่านแดนไทยมีมูลค่า 209,231 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 10.6 (YoY) โดยการส่งออกอาหารสด ผักและผลไม้หดตัวสูงร้อยละ 38.1 (YoY) เนื่องจากอ่อนไหวด้านระยะเวลาขนส่งอย่างมาก ขณะที่อาหารแปรรูปยังขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (YoY)
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
การตลาดแบบ High-end ไม่ใช่การทำตลาดเพื่อ “ขาย” แต่เป็นการทำเพื่อ “ให้ซื้อ” ซึ่ง High-end เป็นแนวคิดที่กว้างกว่าแบรนด์เนม นั่นคือการก้าวล้ำไปข้างหน้าอีกก้าวจากทุกสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา และสิ่งที่เราถูกเปรียบเทียบซึ่งแบ่งแยกเรากับเขา