ประเทศไทยได้ก้าวสู่โลกดิจิทัลเต็มตัว เพราะประชากรไทยวัยทำงานมีประมาณ 30-40 ล้านคน ปัจจุบันมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และกิจกรรมที่ตามมาคือ การซื้อของออนไลน์ทำให้ธุรกิจอี-คอมเมิร์ซเติบโตอย่างต่อเนื่อง
การทำธุรกิจ ไม่ว่าธุรกิจอะไรก็ตาม หนึ่งในคู่มือสำคัญที่จะช่วยส่งต่อความสำเร็จจากรุ่นสู่รุ่นได้ ก็คือ การสร้างมาตรฐานงานที่ชัดเจน สามารถวัดผล
วันก่อนผมได้มีโอกาสพูดคุยกับทีมงานของการตลาดวันละตอนครับ และได้รับคำถามนี้มาว่า “เราจะเปลี่ยนไอเดียที่ดีเป็นธุรกิจที่ใช้ได้อย่างไร” ผมรู้สึกว่าเป็นคำถามที่ดี จึงอยากจะนำมาแบ่งปันมุมมองสำหรับเรื่องนี้กันครับ
จากการคิดต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินกิจการค้าข้าวและอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ภายใต้ชื่อของ V-Group หรือ วุฒิชัยกรุ๊ป มานานกว่า 30 ปี บริษัท โอชาฟูดแพ็ค จำกัด คือ 1 จาก 9 บริษัทในเครือ ผู้ส่งออกใบตองและผักผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ ที่ครั้งหนึ่งธุรกิจเกือบพัง เพราะขาดทุน
ย้อนไปเมื่อ 15 ปีก่อน เมื่อผู้บริโภคในไทยต่างเริ่มหันมาดูแลใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น แต่กลับมีช่องว่างในตลาด ผัก ผลไม้สดมีวางขายอยู่มากมายในท้องตลาด แต่กลับยังไม่มีแบรนด์ใดเลยที่หันมาจริงจังกับการแปรรูปให้เป็นผัก ผลไม้พร้อมรับประทานแบบได้มาตรฐาน
ที่มาของบทความนี้มาจากการเตือนความจำในเฟซบุ๊กของผู้เขียน เมื่อตอนเริ่ม Set up Brand กาแฟ Meffceo
กว่า 5 ทศวรรษกับการเติบโตของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ไม้ภายใต้แบรนด์ “DEESAWAT” (ดีสวัสดิ์) แม้มีช่วงที่ต้องสะดุดจากการผลัดเปลี่ยนมือของผู้เป็นพ่อซึ่งเป็นคนก่อตั้งธุรกิจในลักษณะเฟอร์นิเจอร์ไม้แบบดั้งเดิมฝังมุก
ชื่อว่าผู้ประกอบการทุกท่านก็อยากจะประสบความสำเร็จในธุรกิจที่เราทำอยู่แล้วไม่มากก็น้อย ผมจึงรวบรวมข้อคิดสิ่งที่ได้เรียนรู้ในการทำธุรกิจ ที่ผมคิดว่าเป็นแก่นสำคัญและได้ตกผลึกมาเป็นข้อๆ เพื่อเรียนรู้ร่วมกันค
“ทำธุรกิจก็เหมือนกับม้าแข่งในสนาม มองเห็นแต่ลู่วิ่งด้านหน้า ปัญหาบางอย่างก็มองไม่เห็น เมื่อไร ที่ขยับขึ้นมานั่งในตำแหน่งกองเชียร์บนอัฒจันทร์ ก็จะเห็นภาพรวม ว่าปัญหาและจุดสำคัญอยู่ตรงไหน”
ในยุคของแพงขึ้นทั้งกระดานในปี 2022 นี้ เราๆ เหล่านักธุรกิจ SME ก็ควรที่จะใช้เครื่องมือฟรีให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่กับธุรกิจของเรา
มีการคาดการณ์ว่าในปี 2024 ตลาดกาแฟในจีนจะมีมูลค่าเกิน 330,000 ล้านหยวน และจะเติบโตปีละราว 10 เปอร์เซนต์ตลอด 5 ปีข้างหน้า
ในช่วงที่ผ่านมาเชื่อว่าในการทำธุรกิจของผู้ประกอบการไทยทุกคนต้องเจอกับเรื่องของกระแสเงินสดที่อาจไม่คล่องตัว ซึ่งการจะประคองธุรกิจให้อยู่รอดได้การรักษาสภาพคล่องหรือเงินทุนหมุนเวียนสำคัญที่สุด