ในสถานการณ์โควิด-19 หลายธุรกิจได้รับผลกระทบขาดรายได้ ต้องหยุดพัก หรือปิดกิจการลงไป แต่ได้กลายเป็นผลกระทบเชิงบวกให้กับบางธุรกิจที่จับเอาความต้องการของผู้บริโภคที่เกิดขึ้นในช่วงนี้แล้วมาสร้างสรรค์นวัตกรรมไปตอบโจทย์ได้พอดิบพอดี
ช่วงเวลาของการเผชิญหน้ากับสถานการณ์โควิด-19 โฮสเทลย่านเมืองเก่าที่ชื่อ “Beehive Phuket Old Town Hostel” ปรับกลยุทธ์ธุรกิจ โดยใช้เวลาแค่ 2 เดือน คิดสูตรบะหมี่ออร์แกนิก สร้างแบรนด์ “บะหมี่จินหู่” ที่สามารถโตได้ถึง 200 เปอร์เซ็นต์
ใครจะคิดว่ากิจกรรมลูกทุ่งๆ ของเด็กน้อยบ้านนาอย่าง ดำนา ขี่ควาย เล่นสไลเดอร์โคลนจนตัวเลอะมอม จะกลายเป็นเสน่ห์ที่ดึงดูดและโดนใจเหล่าเด็กเมืองไปได้ จนทำให้ชื่อของ “จินเจอร์ ฟาร์ม” (Ginger Farm) ถูกพูดถึงอย่างมากในโลกโซเชียล
จากติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษที่แต่งตำราขายเอง เป็นที่รู้จักดีในโลกออนไลน์จากเพจ “ครูหนึ่งอิงลิซชีวิตจริง” พลิกชีวิตคิดพัฒนาปรับปรุงที่ดินที่ซื้อเก็บไว้ 12 ไร่ เพื่อต่อยอดสู่การทำเกษตรที่ยั่งยืนนำรายได้สู่ครอบครัวและท้องถิ่นสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้นมานับหลายเท่าตัว
“ตงศิริฟาร์ม” (TongSiri Farm) ฟาร์มเกษตรแบบผสมผสาน ที่มีทั้งผืนนา พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และทำสวน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และตั้งอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นหลัก
“อรรถ - อรรถพล ไชยจักร” อดีตวิศวกรสื่อสารที่ผันมาเอาดีกับอาชีพเกษตร เขาสร้าง “Farm Behind the Barn” (ฟาร์มบีไฮด์เดอะบาร์น) หรือ “ไร่หลังฉาง” เปลี่ยนไร่เผือก ไร่มันสัมปะหลังให้กลายเป็นเกษตรผสมผสาน จนรู้สึกได้ถึงความสุขของการได้พึ่งพาตนเอง
“วี ฟาร์ม” (V Farm) คือแบรนด์ข้าวโพดหวานพร้อมทานที่ขายอยู่ในเซเว่น อีเลฟเว่น วันนี้พวกเขากำลังทรานส์ฟอร์มตัวเองไปสู่โลกของ Plant-Based Food เทรนด์ที่กำลังมาแรง โดยประกาศก้าวเป็น Regional Brand ที่พร้อมโบยบินสู่ตลาดโลกในอนาคต
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
เกษตรกรรุ่นเก่า อาจทำเกษตรโดยใช้สัญชาตญาณ แต่กับ Young Smart Farmer พวกเขาใช้เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือเพิ่มความแม่นยำในการทำเกษตร ช่วยลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อัพแวลู่ให้กับสินค้าเกษตรไทยจนส่งออกต่างประเทศได้ฉลุย
“โอ้กะจู๋” ร้านอาหารสุขภาพที่มีเมนูจัดหนักจัดเต็มและอร่อย จนคนต้องต่อคิวซื้อ มีสาขา 14 สาขา มีฟาร์ม 4 ฟาร์ม มีศูนย์กระจายสินค้า ครัวกลาง พนักงานเกือบพันคน ในปีที่ผ่านมามีรายได้รวมถึงกว่า 643 ล้านบาท!
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
“I Love Flower Farm” ธุรกิจสวนดอกไม้สำหรับสายเที่ยวชอบถ่ายรูป ท่ามกลางความสวยงามที่เห็น มีแง่งามดีๆ ซ่อนอยู่เบื้องหลัง และมีคุณค่ามากไปกว่าแค่เรื่องของธุรกิจ เพราะนี่คือโมเดลเพื่อชุมชน ที่คิดโดย Young Smart Farmer ลูกหลานคนทำไม้ตัดดอกขาย