สองปีกว่าที่เราใช้ชีวิตอยู่กับไวรัสโควิด-19 “New Normal” คือ คำฮิตคุ้นหูที่เกิดขึ้น แต่รู้ไหมในโลกของกาแฟคำๆ นี้เคยเกิดขึ้นมานักต่อนักแล้ว
แม้จะมีการผ่อนปรนให้ผู้คนกลับมานั่งทานอาหารได้แล้ว แต่แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากยังมีปัจจัยเสี่ยงของการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้
หลังสถานการณ์โควิดทำให้ร้านอาหารทะเลขวัญใจชาวต่างชาติ “Aloha Hot & Juicy” ที่เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ ต้องหยุดให้บริการชั่วคราว “แนน-ปานรดา ปัญญาอธิสิน” ผู้ประกอบการนักคิด จึงตัดสินใจฟื้นสูตรลับประจำตระกูลกว่า 70 ปี มาแจ้งเกิด “เต้าหู้ยูนนาน” (Yunnan Tofu)
เค้กหอมมนต์ที่กำลังพุ่งทะยานสุดตัว ต้องสะดุดชั่วคราวเมื่อสถานการณ์โควิด มาเยือน และส่งผลต่อพฤติกรรมการจับจ่ายผู้บริโภค จากตลาดนัดมาเป็นโลกออนไลน์
อาหารสุขภาพกำลังเป็นเทรนด์มาแรงแห่งโลกยุคใหม่ ไม่เว้นแม้แต่อาหาร Junk Food หรือ Fast Food ที่หลายคนมองว่าไม่มีประโยชน์อย่างเบอร์เกอร์
Fa Cai (ฟาไฉ) แบรนด์น้ำพริก ข้าวเกรียบผัก ที่เกิดจากความไม่ได้ตั้งใจของทายาทสาวเจ้าของธุรกิจโรงพิมพ์ ซึ่งเดิมตั้งใจทดลองผลิตเป็นสินค้าตัวอย่างให้ลูกค้าดู ปรากฏภายหลังได้รับความนิยมมาก จนต้องตัดสินใจขายจริงขึ้นมา
การปรับแผนธุรกิจและทบทวนกลยุทธ์การตลาดให้สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันและเทรนด์ในอนาคตอาจจะเป็นหนทางพลิกวิกฤตสู่โอกาสให้กับธุรกิจอย่างที่คาดไม่ถึง และนี่คือวิธีปรับตัวจากประสบการณ์จริงของของ 3 กูรูดังในไทย
ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
ทำเลไม่ดีก็มีร้านได้ SIP Coffee ผู้ฉีกกฎการตลาด เปลี่ยนหน้าบ้านเป็นที่ขาย เข้าถึงลูกค้าแบบไร้คู่แข่ง
“SIP Coffee” ร้านกาแฟน่ารักสไตล์มินิมอลที่เลือกใช้พื้นที่ว่างหน้าบ้านของตัวเองเปิดร้านขึ้นมา แทนการเปิดอยู่ในตัวเมืองหรือแหล่งท่องเที่ยวที่ผู้คนพลุกพล่าน เพราะนอกจากคู่แข่งน้อยแล้ว ยังประหยัดต้นทุนระยะยาวด้วย
"โชนัน" ร้านข้าวหน้าเนื้อสไตล์ญี่ปุ่นที่เดิมเปิดให้บริการอยู่ในศูนย์การค้าเกือบ 100 % แต่เมื่อเจอวิกฤตโควิด-19 ทำให้ต้องปรับตัวออกผลิตภัณฑ์มากมาย ล่าสุดได้เปิดตัวแบรนด์ตู้ขายอาหารอัตโนมัติของตัวเองขึ้นมาในชื่อ “ตู้กับข้าว Cloud Kitchen”
ปกติเวลาซื้อผลไม้มารับประทาน เรามักจะซื้อกันเป็นลูกๆ หรือกิโลกรัม เพราะคงไม่มีใครที่ตัดแบ่งขายเฉพาะส่วนให้ แต่อาจไม่ใช่กับ “แตงโม แตงโหม่ว แตงโม” ร้านขายแตงโมออนไลน์ที่เลือกเอาเฉพาะแกนแตงโตแบบไร้เมล็ดกวนใจมาขายให้กับลูกค้า
เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด ผ่านพ้นช่วงที่เหลือของปี 2564 นี้ไปให้ได้ ผู้ประกอบการจำเป็นต้องสำรวจธุรกิจว่ามีความเสี่ยงแบบไหน จะเป็นเรื่องรายได้ ช่องทางการขาย ต้นทุน หรือภาระหนี้สิน เมื่อประเมินความเสี่ยงที่กำลังเผชิญอยู่ แล้วอุดจุดอ่อนเหล่านี้ให้ได้