“มือซ้าย” นั้นสำคัญไฉน ในองค์กรแห่งหนึ่ง พวกเขาจัดให้มีการประชุมระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องด้วยสิ่งที่เรียกว่า “ช่วงเวลามือซ้าย” หรือ Left Hand Session โดยหัวหน้ามีหน้าที่รับฟังความรู้สึกต่างๆ ของลูกน้อง ว่าจะมีอะไรที่อยาก Feedback กับหัวหน้าบ้าง
การเปลี่ยนแปลงมักมาคู่กับวันเวลาที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว จึงไม่น่าแปลกใจที่องค์กรต่างๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ปัญหาคือ คนในองค์กรพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองในอัตราเร่งที่รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กรหรือไม่
ใครกันจะชอบหัวหน้างานเกรี้ยวกราด ฉุนเฉียวง่าย ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ เพราะต่อให้เงินเดือนดีสวัสดิการเด่นแค่ไหน แต่พนักงานก็พาลจะลาออกได้ง่ายๆ เพราะทนหัวหน้าไม่ไหว
ผู้ประกอบการ SME ย่อมอยากบริหารธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ แต่รู้ไหม บางทีเพียงแค่หันมาสนใจและดูแลสุขภาพของตนเอง ทีมงาน ตลอดจนสร้างวัฒนธรรมการมีสุขภาพดีให้เกิดขึ้นภายในองค์กร ก็สามารถนำพาธุรกิจไปสู่ความสำเร็จได้
Gamification คือ การใช้คุณลักษณะของเกมมาออกแบบการทำงานหรือการเรียนรู้ให้สนุก ไม่น่าเบื่อ ทำงานเหมือนการเล่นเกม ถ้าคุณหรือทีมงานเริ่มเบื่อกับการทำงาน และบรรยากาศเก่าๆ ลองมารู้จัก 6 องค์ประกอบ ที่จะเปลี่ยนการทำงานของคุณให้สนุกขึ้นกัน
ในหนังสือ Empower Yourself ของ John Martin บอกถึงวิธีการทำให้ตัวเองประสบความสำเร็จ ทั้งในชีวิตการงานและชีวิตส่วนตัว ด้วย 6 วิธีที่ใครก็ทำได้ ความสำเร็จนั้นไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ผู้ที่ประสบความสำเร็จทุกคน ล้วนผ่านอุปสรรคและความล้มเหลวมานับไม่ถ้วน หากอยากสำเร็จ ต้องกล้าที่จะเปลี่ยน..
เวลาที่องค์กรต่างๆ เลือกรับพนักงานจบใหม่ หลายคนอาจดูจากเกรด เฟ้นหาพนักงานหัวกระทิที่ได้เกียรตินิยม โดยหวังว่า “คนเก่ง” เหล่านี้จะเข้ามาช่วยพัฒนาองค์กรให้ดีขึ้นได้ แต่ความจริงคนเก่งก็มีจุดบอดบางอย่าง ที่อาจทำให้คุณรู้สึกว่า เก่งไปก็เท่านั้นแหละ
ณ ตอนนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ทักษะสำคัญที่กำลังมาแรงในการเสริมสร้างภาวะผู้นำคือ การเล่าเรื่อง (Storytelling) เหตุผลเป็นเพราะว่า ผู้นำทุกคนต้องมีวิธีการนำเสนอให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจและจดจำได้ เพราะจำไม่ได้ ทำไม่ได้!
การสร้างแบรนด์กับพนักงานส่วนสำคัญไม่แพ้สร้างแบรนด์สินค้า เพราะถ้าพนักงานมีความสุขในการทำงาน ก็จะภักดีกับองค์กรด้วย
ทำไมผู้นำต้องมีตัวตายตัวแทน เป็นคำถามที่น่าคิด ผู้นำหลายคนไม่อยากให้มี เพราะอาจทำให้องค์กรเห็นความสำคัญของตนเองน้อยลง แต่อย่าลืมว่า “ตัวตายตัวแทน” ไม่ได้สร้างได้ภายในวันสองวัน แต่ใช้เวลาเป็นแรมปีในการเพาะบ่มจนได้ที่ ลองมาดูกันว่า อะไรคือเหตุผลที่ผู้นำควรมีตัวตายตัวแทน
ในฐานะผู้บริหาร ต้องยอมรับว่าบางทีก็ไม่สามารถเลือกคนมาทำงานกับเราได้ดั่งใจปรารถนา บางคนเก่ง บางคนไม่ บางคนร้าย บางคนดี ความท้าทายอย่างหนึ่งที่ถือว่าเป็น “ปัญหาอันน่าพิสมัย” (Good Problem) คือการได้ลูกน้องที่เก่งและมีประสบการณ์มากกว่าตนเองมาทำงานด้วย
เคยไหม บางครั้งเจอใครสักคนแล้วรู้สึกไม่ชอบขี้หน้าขึ้นมาเฉยโดยไม่ทราบสาเหตุ ทั้งๆ ที่เขาก็ไม่เคยทำอะไรที่ไม่ดีกับเรา แต่คุยกันแค่ 5 นาที รู้สึกได้ถึงความไม่ถูกชะตาซะแล้ว อาการแบบนี้ โบราณเรียก “ศรศิลป์ไม่กินกัน” หากเป็นคนที่เจอแป๊บๆ แล้วก็จากกันไป หรือนานๆ เจอกันที คงไม่มีปัญหาอ..