ถึงมีทุนเริ่มต้นทำธุรกิจน้อย ก็สามารถยิ่งใหญ่ได้ เหมือนที่ อดัม ลู เริ่มต้นซื้อรถเข็นเล็กๆ ราคาประมาณ 5,000 บาทจากห้างอิเกียมาทำร้านขายหอยนางรมสดที่ชื่อว่า The Oyster Cart
หลังการอุบัติของโควิด-19 ทำให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เปลี่ยนไปหลายอย่าง แน่นอนว่าย่อมส่งผลต่อการทำธุรกิจ ที่ต้องพร้อมปรับให้ทันผู้บริโภค
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย
ที่ผ่านมาเราไม่สามารถซื้อโฆษณาผ่านช่องทาง Line ด้วยตัวเองได้โดยตรงต้องซื้อผ่านเอเจนซี่เท่านั้น ฉะนั้น นี่เป็นข่าวดีสำหรับผู้ประกอบการก็ได้ที่ในวันนี้ไลน์ได้มีการปรับปรุงรูปแบบการให้บริการที่ง่ายขึ้น ผ่าน“Line Ads Platfrom”หรือ LAP
ในปีที่ผ่านมาท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 “Organics Buddy” ยังโตได้ถึง 10-15 เปอร์เซ็นต์ แต่การเติบโตนี้ไม่ได้มาจากความบังเอิญ พวกเขาทำสินค้าออร์แกนิกแบบไหนให้ตอบโจทย์ทั้งธุรกิจ ผู้บริโภค และโลก
“Supreme” แบรนด์สตรีทแวร์ชื่อดังจากนครนิวยอร์ค ที่ไม่น่าเชื่อว่าแม้จะมีแค่โลโก้กรอบสีแดงตัวหนังสือสีขาวอยู่ด้านใน แต่กลับสร้างมูลค่ากลับไปให้แบรนด์ได้มากกว่าหลายหมื่นล้านบาททีเดียว!
เมื่อ Eco Shop ของ นุ่น –ศิรพันธ์ และ ท็อป – พิพัฒน์ ได้พี่เลี้ยงเป็นถึงกรูรูธุรกิจมืออาชีพอย่าง Divana จนเกิดเป็นโปรเจกต์ร่วมกันขึ้นมาภายใต้ชื่อแบรนด์ “Divana Urban Forest” ผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในบ้านที่ใส่ใจทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และสิ่งแวดล้อม
ทุกวันนี้ธุรกิจ Food Delivery ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อร้านค้าต่าง ๆ จำนวนมาก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าด้วยค่า GP ที่สูงลิ่วกว่า 30 – 35 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ไม่สามารถทำกำไรได้ วันนี้แบรนด์เดลิเวอรีท้องถิ่นสัญชาติไทยจึงมีเกิดขึ้นมากมาย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ประกอบการ
8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal
ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเร่งทรานส์ฟอร์มธุรกิจในการลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันในโลกธุรกิจยุค New Normal