8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ
ปี 2020 เต็มไปด้วยบทเรียนและรอยแผลที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องเผชิญ คุยกับผู้ประกอบการในหลากแวดวงเพื่อให้ร่วมนิยาม “3 คำ” กับความเป็นไปในปี 2020 รวมถึงสะท้อนวิสัยทัศน์ถึงปีหน้าฟ้าใหม่ 2021
วัน-อมตะ สุขพันธ์ และ ออฟ-ณิสาพัฒน์ ทองประทุม คู่รักผู้ก่อตั้ง หจก.วัน-ออฟ คอฟฟี่ ฟาร์มสเตย์ จ.แม่ฮ่องสอน ที่กลายมาเป็นผู้ประกอบการจากจุดเริ่มต้นแค่อยากวางแผนเกษียณตัวเองจากงานที่ทำเพื่อไปใช้ชีวิตที่สงบสุขในต่างจังหวัด
Virtual Solution ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มการจัดอีเวนต์-งานนิทรรศการเสมือนจริงที่สร้างสรรค์ได้อย่างไร้ขอบเขต และพันธมิตรภาคเอกชน เตรียมจัดงาน “THAILAND Trade Fair 2021” มหกรรมงานแสดงสินค้าและเจรจาธุรกิจในรูปแบบ Virtual Trade Fair
โลกธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่ยากจะคาดเดาได้ ตลอดจนสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังคงยืดเยื้ออยู่ในระดับโลก ที่นับเป็นตัวเร่งให้เกิดความท้าทายภายใต้บริบทใหม่ในยุค Next Normal ที่ทำให้ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัว เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลง
มาฟัง “มณีรัตน์ อนุโลมสมบัติ” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร SEA (Thailand) กลุ่มธุรกิจสัญชาติสิงคโปร์ แบ่งปันมุมคิดการสร้างองค์กรคนรุ่นใหม่ ที่เริ่มจากคนแค่ 40 คนเมื่อ 8 ปีก่อน เป็นองค์กร 4,000 คนในวันนี้
ในขณะที่แบรนด์ต่างๆ กำลังต่อสู้กับภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก วิธีการตอบโต้กับลูกค้าเพื่อมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดนับเป็นสิ่งสำคัญ สอดคล้องกับรายงาน Digital Trend 2020 ที่เป้าหมายหลักในปีนี้อยู่ที่ประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experience - CX)
"ผักกาดดองตรานกพิราบ" แบรนด์ที่ไม่เคยทำตลาดมากว่า 50 ปี หลังจากก่อตั้งแบรนด์ แต่จู่ดีๆ วันหนึ่งก็กลับโด่งดังขึ้นมาได้ เพราะถูกนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในเมนูผักกาดดองต้มกระดูกหมู เมนูพื้นฐาน แต่หากจะทำให้อร่อยได้ ก็ต้องใช้ผักกาดดองที่มีคุณภาพเท่านั้น
ลูกค้าไม่สามารถบอกออกมาได้ตรงๆ ว่าพวกเขาต้องการอะไร หรือแบรนด์ต้องทำแบบไหน แต่แบรนด์ต่างหากที่เป็นฝ่ายต้องปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีการเพื่อระบุปัญหาของพวกเขาให้ได้ และหาวิธีแก้ปัญหานั้นในแบบที่ลูกค้าไม่คาดคิด นั่นต่างหากถึงจะเป็น “นวัตกรรม”
ติดตามเรื่องราวของ 3 ตัวแม่นักธุรกิจ “เจ๊จง-จงใจ กิจแสวง” แห่งหมูทอดเจ๊จง “เจ๊ง้อ-ณชนก แซ่อึ้ง” ผู้ก่อตั้ง ครัวเจ๊ง้อ และ “เจ๊เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” แห่ง ฟาสเทคโน ผู้ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างสาหัส แต่พวกเธอฟันฝ่ามันมาได้ ด้วยยาใจที่ชื่อ “ลูก”
“เทรคกิ้งไทย” บริษัทท่องเที่ยวแบบเดินป่าพยายามหาทางรอดจากวิกฤติโควิด-19 ในเมื่อออกเดินทางไม่ได้ พวกเขาเปิดเส้นทางใหม่ ขยายตลาดขายอุปกรณ์เดินป่าและแคมปิ้งบนโลกออนไลน์ จนธุรกิจไปต่อได้แม้ยังไม่มีนักท่องเที่ยวสักคน
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก