แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal
ในช่วงเวลาวิกฤต อุตสาหกรรมหนึ่งที่เติบโตอย่างโดดเด่นสวนกระแส หนีไม่พ้นอุตสาหกรรมอาหาร เพราะเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่คนจำเป็นต้องบริโภคเพื่อการดำรงชีวิต โดยเฉพาะบรรดาอาหารกระป๋อง เช่น อาหารทะเลกระป๋อง ผลไม้กระป๋อง รวมทั้งอาหารพร้อมทานและอาหารแช่แข็ง ที่ได้รับความนิยมสูงในการเป็นเส..
สถานการณ์อาจสร้างวีรบุรุษ หรือพลิกชื่อเสียงของแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักชั่วข้ามคืน แต่ไม่ใช่สำหรับกรณีของรองเท้าแบรนด์ O&B ที่ไม่หยุดมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า อดทนเก็บสะสมแต้มต่อเนื่อง เมื่อถึงวันฟ้าเปิด ยอดขายก็หลั่งไหลมาเป็นรางวัลแห่งความสำเร็จ
จากวิกฤติการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมา ธุรกิจการสั่งอาหารออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ กลายเป็นช่องทางสำคัญของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารและผู้บริโภค โดยพบว่ามีจำนวนร้านอาหารขนาดเล็ก-กลาง สมัครเข้าร่วมกับแพลตฟอร์มจัดส่งอาหาร ไม่น้อยกว่า 20,000 รายต่อสัปดาห์ทีเดียว
การมาถึงของโควิด-19 เหมือนสึนามิที่ล่มเรือธุรกิจเวดดิ้ง สำหรับ “แคทลียา ท้วมประถม” หนึ่งในผู้เล่นสนามนี้ เธอยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง เลือกปรับตัวและรับมือ โดยการไปหาจักรวาลใหม่ให้ธุรกิจได้ไปต่อ โดยไม่ท้อและมีความหวังอยู่เสมอ
สถานการณ์โควิดอาจเป็นฝันร้ายสำหรับใครหลายคน แต่ก็ยังมีอีกหลายมุมให้คุณได้เลือกมอง อย่าง Guss Damn Good แบรนด์ไอศกรีมสุดคราฟท์ที่ได้เปลี่ยนช่วงเวลาเคร่งเครียดให้กลายเป็นความสนุกด้วยการเสิร์ฟไอศกรีมแสนอร่อยให้ลูกค้าเพื่อเยียวยาหัวใจ
หนังสือ Concept is Everything หรือชื่อไทยว่า “1,000 ไอเดียหรือจะสู้ 1 คอนเซปต์” จะทำให้คุณรู้ว่าคอนเซปต์นั้นสำคัญไฉน ซึ่งต่อให้ไม่ใช่คนที่ทำงานด้านครีเอทีฟหรือความคิดสร้างสรรค์มาก่อน ก็จะเข้าใจคำว่า คอนเซปต์ ได้ไม่ยาก
ในยุควิกฤตผู้ประกอบการต้องรัดเข็มขัด ใช้เงินให้ฉลาด ใช้ความคิดให้มาก และต้องออกจากท่าเล่นเดิมๆ เพื่อไปสู่โอกาสใหม่ๆ โดยใช้พลังของความคิดสร้างสรรค์ไปทำให้เกิดรายได้ไม่ใช่การโฆษณาสินค้า
การจะนำพาแบรนด์ไทยออกสู่ตลาดโลกในฐานะของแฟรนไชส์จึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป แต่สิ่งสำคัญคือคุณต้องรู้ความเป็นไปของโลก ต้องรู้ว่าผู้บริโภคตอนนี้สนใจเรื่องอะไร แล้วหัวใจสำคัญในการทำระบบแฟรนไชส์ให้สำเร็จต้องมีอะไรบ้าง!
ประเทศไทยได้เปลี่ยนผ่านสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) โดยคาดว่ามีมูลค่าเศรษฐกิจดิจิทัลกว่า 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งถือเป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย และมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง