เมื่อผู้คนเริ่มเรียนรู้ที่จะทดลองใช้ชีวิตวิถีใหม่ทั้งรูปแบบที่มีข้อจำกัดและไร้ซึ่งข้อจำกัด ได้มีเวลาอยู่กับบ้านมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ คือ การทดสอบมนุษย์ให้ลองออกจากกรอบเดิมๆ ที่เคยทำ จึงไม่แปลกที่วันนี้หลายคนจะลุกขึ้นมาเลือกทางเดินชีวิตตัวเอง
Fa Cai (ฟาไฉ) แบรนด์น้ำพริก ข้าวเกรียบผัก ที่เกิดจากความไม่ได้ตั้งใจของทายาทสาวเจ้าของธุรกิจโรงพิมพ์ ซึ่งเดิมตั้งใจทดลองผลิตเป็นสินค้าตัวอย่างให้ลูกค้าดู ปรากฏภายหลังได้รับความนิยมมาก จนต้องตัดสินใจขายจริงขึ้นมา
การปรับแผนธุรกิจและทบทวนกลยุทธ์การตลาดให้สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันและเทรนด์ในอนาคตอาจจะเป็นหนทางพลิกวิกฤตสู่โอกาสให้กับธุรกิจอย่างที่คาดไม่ถึง และนี่คือวิธีปรับตัวจากประสบการณ์จริงของของ 3 กูรูดังในไทย
ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
เก็บภาษี e-Service ผู้ประกอบการ SME เสียผลประโยชน์ไหม! มีข้อควรระวังอะไรที่ต้องเตรียมรับมือไว้บาง ลองไปฟังบทวิเคราะห์ของเรื่องนี้จากศูนย์วิจัยกสิกรไทยที่ได้ทำการศึกษาเอาไว้กัน
ผลพวงจากไวรัสโควิดธุรกิจต่างๆ ต้องหาวิธีปรับตัว หนึ่งหลายวิธีก็คือใช้วิธีฉีกแนวจากธุรกิจเดิมแล้วไปเริ่มต้นธุรกิจใหม่ เหมือนกับโคเรีย วอลเปเปอร์ ตัดสินใจพลิกมาจับสินค้าที่ความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่าง “ทุเรียน”
หากย้อนไปดูปี 2563 ซึ่งเป็นปีแรกของการแพร่ะระบาด ตัวเลขผลประกอบการของ SME มีอัตราลดลงถึง -9.1 เปอร์เซ็นต์ คำถามก็คือ แล้วสถานการณ์ปีนี้ล่ะ จะเป็นอย่างไร? นี่คือความเสี่ยงที่ SME ต้องเผชิญอย่างต่อเนื่องหลังจากนี้ 3 เรื่องหลักๆ
ช่วงนี้เห็นข่าวสมุนไพรไทยถูกพูดถึงกันอยู่บ่อยๆ โดยเฉพาะสมุนไพรที่สามารถช่วยรักษาและบรรเทาอาการจากไวรัสโควิด-19 แต่แท้จริงแล้วในสายตาและมุมมองของทั่วโลกที่มีต่อสมุนไพรไทยเป็นเช่นไร ไปดูกัน
แนวโน้มอี-คอมเมิร์ซ จาก Grazziti Interactive ที่บอกได้ว่าลูกค้าที่อยู่ที่นี่เป็นใคร มาจากไหน และมีพฤติกรรมการใช้จ่ายอย่างไร เพื่อให้เจ้าของธุรกิจจะได้ลงทุน ลงแรงไปแบบไม่เสียแรงเปล่า แต่จะได้ยอดขายกลับมาแน่ๆ
เพราะ SME เปรียบเสมือนฟันเฟืองที่สำคัญของเศรษฐกิจไทย ทำให้มีหน่วยงานต่างๆ ทั้งของภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงสถาบันการเงินต่างๆ เข้ามาสนับสนุน SME Thailand online รวบรวมไว้ให้ดังนี้
สสว. เตรียมให้ความช่วยเหลือ SME ผ่านระบบผู้ให้บริการสนับสนุนด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business Development Service : BDS) หรือการจ่ายคนละครึ่งภาค SME เพื่อสร้างทางเลือกให้กับ SME ในการพัฒนาธุรกิจของตนเองให้ตรงตามความต้องการมากขึ้น
การเริ่มต้นส่งออกอาจเป็นเรื่องยากสำหรับ SME แต่รู้ไหมว่ามีวิธีหนึ่งที่จะออกจากฝั่งโดยที่ไม่เสี่ยงเกินไป นั่นก็คือ การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของซัพพลายเชนของผู้ประกอบการส่งออกรายใหญ่