ถ้าพูดถึงแบรนด์น้ำจิ้มสุกี้ชื่อดังของไทย หนึ่งในนั้นต้องมีชื่อของ “ตราพันท้ายนรสิงห์” รวมอยู่ด้วยแน่นอน แต่รู้ไหมว่ากว่าจะเติบโตเป็นกิจการใหญ่โตขายอยู่ในประเทศ และส่งออกไปไกลกว่า 40 – 50 ประเทศทั่วโลกได้ แบรนด์เริ่มต้นกิจการมาจากรถเข็นขายข้าวเกรียบกุ้งและน้ำพริกเผาเล็กๆ มาก่อน
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบกับภาคธุรกิจอย่างรุนแรง บริษัท ห้างร้าน พ่อค้า แม่ค้า ไม่สามารถดำเนินธุรกิจได้ตามปกติ บางธุรกิจต้องปิดกิจการลงชั่วคราวจนรายได้หดหาย และขาดสภาพคล่อง จนต้องหันหน้าเข้าหาสถาบันการเงิน
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
ในวันที่เกิดวิกฤตไวรัสโควิด-19 ความรู้และประสบการณ์ในอดีตกลายเป็นเรื่องเก่าที่เอามาใช้แก้สถานการณ์ไม่ได้ ท้าทายการทำธุรกิจของ SME ถึงเวลาพลิกตำราสู้เพื่อก้าวข้ามวิกฤตไวรัส ด้วยการคิดอย่าง..เสือ
ในปี 2020 นี้ เรียกได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของผลิตภัณฑ์ไทยในการยกระดับไปสู่การเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ด้วยพลังของการออกแบบ โดย Demark Award ที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 13 ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Circular Design, Cycle of Life ดีไซน์ หมุนเวียน เปลี่ยนโลก
วิกฤตโควิด-19 เล่นงานผู้คนไปทั่วโลก ส่งผลให้อุตสาหกรรมเครื่องนุ่มห่มไทยต้องหยุดชะงัก แบรนด์ต่างๆ เริ่มเลื่อน ลดจำนวน และยกเลิกผลิตสินค้า เมื่อประเทศเข้าสู่การล็อกดาวน์ ผู้คนอยู่บ้านไม่จำเป็นต้องซื้อเสื้อผ้าใหม่ ยิ่งซ้ำเติมวิกฤตหนักให้กับพวกเขา
สหกรณ์การเกษตรท่ายาง คือแหล่งที่มาของกล้วยหอมทองวันละ 50,000 ลูก ป้อนเซเว่นฯ ส่งขายญี่ปุ่นปีละ400 ตัน และยังทำตลาดอย่างงดงาม ท่ามกลางผลผลิตที่สูงถึงเดือนละกว่า 500 ตัน! มารู้จักพวกเขาให้มากขึ้นกัน
การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจไปจนถึงตลาดแรงงาน ทำให้จำนวนคนตกงานสูงกว่าทุกวิกฤตที่ประเทศไทยเคยเจอมา โดยมีคนทำงานถูกเลิกจ้างหรือพักงานสูงถึง 1 ใน 4 ของแรงงานทั้งประเทศ
“เด็กสมบูรณ์” แบรนด์ซีอิ๊วขาว และซอสปรุงรสอื่นๆ ที่อยู่คู่ครัวไทยมานานกว่า 73 ปี จนวันนี้สามารถก้าวขึ้นมาเป็นเบอร์ 1 อยู่ในตลาด สร้างรายได้มากกว่าหลายพันล้านบาทต่อปี จำหน่ายมากกว่า 50 ประเทศทั่วโลก
ไวรัสโควิด-19 ทำให้ผู้คนต้องปรับโหมดสู่การทำงาน Work From Home หลายคนอาจคิดว่าประสิทธิภาพในการทำงานอาจลดลง คนอาจต้องรู้สึกเหงา แต่ผลการวิจัยพบว่า คนส่วนใหญ่พึงพอใจกับการทำงานแบบยืดหยุ่น และมองว่าการทำงานจากที่บ้านทำให้ชีวิตการทำงานดีขึ้น
ในสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 หลายอุตสาหกรรมต้องเผชิญกับวิกฤต แต่อุตสาหกรรมอาหารกลับได้รับอานิสงส์ ทว่าความหอมหวานนี้จะยั่งยืนแค่ไหน หลังจากนี้ต้องปรับเกมรุกอย่างไร อุตสาหกรรมอาหารไทยถึงจะกลับมาแข็งแกร่งได้ในตลาดโลก
พวกเขาไม่ใช่แค่ดารานักแสดง แต่ยังเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ที่เจอกับพิษโควิด-19 เหมือนกับทุกคน การยอมรับสถานการณ์และปรับตัวรับมือคือหนทางเดียวที่จะทำให้หลุดพ้นจากวิกฤตครั้งนี้ไปได้ มาดูกันว่าพวกเขาทำอย่างไร เพื่อไปต่อในยุค New Normal