ในปี 2020 นี้ เรียกได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของผลิตภัณฑ์ไทยในการยกระดับไปสู่การเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ด้วยพลังของการออกแบบ โดย Demark Award ที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 13 ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Circular Design, Cycle of Life ดีไซน์ หมุนเวียน เปลี่ยนโลก
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
การมาถึงของโควิด-19 เหมือนสึนามิที่ล่มเรือธุรกิจเวดดิ้ง สำหรับ “แคทลียา ท้วมประถม” หนึ่งในผู้เล่นสนามนี้ เธอยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง เลือกปรับตัวและรับมือ โดยการไปหาจักรวาลใหม่ให้ธุรกิจได้ไปต่อ โดยไม่ท้อและมีความหวังอยู่เสมอ
ปัจจุบันเกษตรกรไทยเริ่มมีการนำผลิตผลทางการเกษตรออกมาจำหน่ายออนไลน์มากยิ่งขึ้น เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อก็ต้องส่งผ่านทางไปรษณีย์ TISTR จึงวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ออกมาเพื่อช่วยให้การส่งผลผลิตทางการเกษตรสะดวกสบายและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
“สมชนะ กังวารจิตต์” นักออกแบบมือรางวัลระดับโลก ผู้ก่อตั้ง Prompt Design บริษัทออกแบบสัญชาติไทยที่สามารถคว้ารางวัลระดับโลกมาครองได้มากกว่า 70 รางวัล
ไม่มีคำว่าเหมือนเดิมอีกต่อไป หลังจากที่ไวรัสโควิดมาเยือน ทุกอย่างเปลี่ยนไปโดยเฉพาะวิถีการทำงานที่องค์กรต้องปรับตัวกันอย่างหนัก เช่น การให้พนักงาน Work From Home เป็นต้น
หลายธุรกิจที่ดำเนินกิจการมาอย่างยาวนาน บางครั้งเหตุผลก็ไม่ใช่เพียงแค่รายได้ก้อนงาม แต่อาจหมายถึงการทำหน้าที่บางอย่าง เพื่อสร้างทางเลือกให้กับผู้บริโภค หรือแม้แต่การดำรงมรดกของครอบครัวให้คงอยู่สืบไปเท่านั้น
ในภาวะวิกฤตมีหลายธุรกิจที่ต้องล้มลง “เมธาวี อ่างทอง” คือหนึ่งในผู้ประกอบการที่เจอกับวิกฤตครั้งแล้วครั้งเล่า ทว่าเธอลุกขึ้นมาใหม่ และแต่ละครั้งก็ได้เรียนรู้ข้อบกพร่องแล้วอุดช่องโหว่ไม่ให้ตัวเองต้องก้าวพลาดซ้ำในจุดเดิม
ธุรกิจรักษ์โลกอยู่ในแทบทุกวงการ ไม่ว่าจะเป็นแฟชั่น อาหาร หรือแม้กระทั่งอุปกรณ์กีฬาก็ยังใส่ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจุดมุ่งหมายไม่ใช่แค่เพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้า หรือสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับแบรนด์เท่านั้น หากแต่ยังแสดงเจตนารมณ์ที่จะปกป้องดูแลโลกใบนี้ ให้รอดพ้นปลอดภัยจา..
ใบตองแห้ง ดูเหมือนจะเป็นส่วนที่ด้อยค่าที่สุดในต้นกล้วยเมื่อเทียบกับกาบกล้วย ใบตองสด หัวปลี ไปจนถึงผลกล้วย แต่อยู่มาวันหนึ่งก็มีนักออกแบบสาวชาวอุตรดิตถ์ได้หยิบเอาวัสดุไร้ค่าอย่างใบตองแห้งมาแปลงโฉมเสียใหม่ ในที่สุดก็กลายเป็นสินค้าที่เพิ่มมูลค่าได้หลายเท่าตัว
ในโลกของการทำธุรกิจ SME ต้องเจอกับความท้าทายมากมาย มีโจทย์หนักๆ การแข่งขันใหม่ๆ เข้ามาทำให้หยุดนิ่งอยู่กับที่ไม่ได้ การทำอะไรอยู่ใน Comfort Zone กลายเป็นตัวฉุดรั้งความสำเร็จ ทำอย่างไรถึงจะออกจากกับดักเหล่านี้ได้