หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
วันแรกที่มะเขือเทศ Take Me Home วางขายในตลาดขายส่งผัก-ผลไม้เมืองเชียงใหม่ ทำยอดขายไปได้ทั้งสิ้น “0 บาท!” ผ่านมา 15 ปี มะเขือเทศที่คนเมินใส่ในวันแรก เติบใหญ่กลายเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายมะเขือเทศสดในระบบไฮโดรโปนิกส์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ
“คนจีนมักไม่ซื้อแบรนด์ใหม่ที่ไม่รู้จัก” เป็นเรื่องที่นักการตลาดจีนทุกคนรู้กันดี ถ้ายังไม่มั่นใจว่าสินค้านั้นเหมาะกับตลาดจีนหรือไม่ การทำ Voice Check โดย Influencers อาจเป็นตัวช่วยที่ดีในการประเมินสถานการณ์ก่อนลุยตลาดจีนแบบจริงจัง
“เบนซ์-ศรัณย์ เกียรติเทพขจร” เจ้าของช่อง DBigbike ทายาทรุ่น 2 ของ “ดีเจริญยนต์” ธุรกิจที่เริ่มจากซื้อ-ขายรถยนต์และจักรยานยนต์มือสอง จนวันนี้กลายเป็นอาณาจักรของคนรักบิ๊กไบค์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในโลกออนไลน์และออฟไลน์
เพราะวิกฤตโควิด-19 เอเชี่ยน พลัส ทราเวล แอนด์ เซอร์วิส กลับใช้โอกาสนี้มาปฏิวัติตัวเองด้วยโมเดลธุรกิจใหม่ และใช้เวลาแค่ 3 เดือน สามารถแจ้งเกิดทัวร์ของเพศทางเลือก และพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับเพศทางเลือกเป็นรายแรกของไทยได้สำเร็จ
การทำธุรกิจยุคนี้ยากแสนยาก โดยเฉพาะในกลุ่มของผู้ประกอบการรายเล็กที่ทำธุรกิจน้ำดี ธุรกิจรักษ์โลก และกิจการเพื่อสังคมหรือ SE (Social Enterprise) นี่คือกุญแจสำคัญ 6 ดอกช่วยให้ธุรกิจรักษ์โลกและเหล่ากิจการเพื่อสังคม “อยู่รอด”
ธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยวน่าจะฟื้นตัวช่วงไตรมาส 3 หรือไตรมาส 4 ของปีหน้า 2564 อาจทำให้เราจำเป็นที่จะต้องมองหาทางออกอื่นสำรองไว้เป็นทางเลือกเพื่อความอยู่รอด คำถามคือ แล้วเราจะสามารถหาโอกาสในสายงานอาชีพอื่นอะไรได้บ้าง?
ภายใต้การนำของ วิภาวี วัชรากร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วัชมนฟู้ด จำกัด กำลังผลักดันให้บริษัทฯ ก้าวไปข้างหน้าอีกขั้น ด้วยการเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยดิจิทัล เพื่อให้เป็นจุดสตาร์ทของแผนการขยายขนาดธุรกิจในอนาคต
การประเมินคู่แข่งทางธุรกิจที่สมน้ำสมเนื้อกับเรานั้น สามารถเริ่มต้นทำได้จากการวิเคราะห์ด้านคุณภาพ การบริการ และราคา จากนั้นลองลิสต์เอาไว้ 5 – 10 แบรนด์ โดยอย่าลืมคู่แข่งทางอ้อมด้วย
หลงใหลในตัวเลข ชื่นชอบคณิตศาสตร์ สนใจด้านการตลาด และชอบคิดอะไรต่างจากคนอื่น คือสิ่งที่นำพาให้ “อริสา กุลปิยะวาจา” ผู้ก่อตั้งแบรนด์ 137 ดีกรี ตัดสินใจไปศึกษาต่อด้าน Data Analytics และได้นำวิธีคิดแบบ Data Scientist มาใช้ในการดำเนินธุรกิจวันนี้
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19