ปฏิเสธไม่ได้ว่าจีนถือเป็นตลาดใหญ่ที่น่าสนใจด้วยตัวเลขจำนวนประชากรกว่า 2 พันล้านคน จึงเป็นโอกาสทางการค้าสำหรับแบรนด์และผู้ค้าทั้งในจีนและต่างประเทศ
แม้ว่าสถานการณ์โควิด-19 ทำให้หลายธุรกิจต้องรับผลกระทบอย่างมหาศาล บางธุรกิจปิดกิจการไปก็มี แต่ก็มีธุรกิจได้โอกาสในการเติบโตจากสถานการณ์นี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมากจากการเปลี่ยนแปลงจากดิจิทัล
“คนที่จะสำเร็จได้ต้องมีความทะเยอะทะยาน ต้องคิดให้ใหญ่ ทำให้ได้ และอย่ายอมแพ้” คาถาความสำเร็จของหญิงแกร่งจากทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ดร.พรรณนิภา โอฬารธัมมะกิตติ์ (บี) นับเป็นอีกหนึ่งคนในวงการธุรกิจที่เริ่มต้นจากศูนย์แต่สามารถฝ่าฟันจนมีธุรกิจพันล้าน
การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไม่ได้เป็นเพียงคำพูดติดปากอีกต่อไปแล้ว มันได้กลายเป็นส่วนสำคัญของการทำธุรกิจมากขึ้นเรื่อยๆ
นับตั้งแต่ปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นเวลากว่าสองปีครึ่ง ที่ประเทศไทยได้เรียนรู้และอยู่กับการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเนื่องมาสองปีกว่า ทำให้พฤติกรรมของผู้บริโภค แนวโน้มธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป แน่นอนว่ารูปแบบการทำธุรกิจเองก็ต้องเปลี่ยนไปเช่นเดียวกัน
เชื่อว่าธุรกิจที่ใช้เพจ Facebook กำลังเผชิญกับปัญหาเหล่านี้ เมื่อ Facebook เริ่มปรับอัลกอริทึมใหม่ ทำให้ยอดชมผู้ชมลดน้อยลง เนื่องจากปัจจัยหลายๆ อย่างเช่น ธุรกิจเริ่มโฆษณาบน Facebook มากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มไม่เห็นคอนเทนต์ที่เราโพสต์
หนึ่งในวิธีที่จะทำให้ธุรกิจเติบโตคือการส่งออก แต่รู้ไหมว่าในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบการ SME ในระบบประมาณ 3.1 ล้านราย กลับเป็นผู้ส่งออกไม่ถึง 1% หรือประมาณ 3 หมื่นรายเท่านั้น
หลังจากราคาแก๊สหุงต้มพุ่งขึ้นไม่หยุด ล่าสุดมีการปรับขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม อัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 408 บาทต่อถัง ทาง เฟซบุ๊ก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้นำเสนอ ใช้เตามหาเศรษฐีจะสามารถประหยัดไม้ ฟืนและถ่านที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ถึง 500-600 บาท/ครัวเรือน/ปี และช่วยลดการใช้แก๊ส LPG ในครัวเรือน กลายเป็นประเด็นร้อนในโลกออนไลน์
อากาศยิ่งแปรปรวนผู้คนก็ยิ่งตระหนักถึงต้นตอของปัญหา ทำให้หลายฝ่ายเริ่มหาวิธีที่จะหยุดภาวะโลกร้อน ซึ่งรวมไปถึงภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ส่งออกที่ควรทำความเข้าใจ เร่งปรับตัวเพิ่มประสิทธิภาพและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต เพื่อลดต้นทุนและรักษาตลาด โดยเฉพาะในสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ที่จะมีการบังคับใช้กฎหมายในการเก็บค่าธรรมเนียมคาร์บอนสำหรับการนำเข้าสินค้า
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
เมื่อพูดถึงตลาดผ้าอ้อมใครๆ ก็ต้องนึกถึงกลุ่มเด็กทารกและเด็กเล็ก แต่ในวันนี้ผู้ใช้งานหลักคือประชากรผู้สูงอายุที่ล่าสุดยอดขายผ้าอ้อมผู้ใหญ่ในจีน แซงหน้าผ้าอ้อมเด็กไปแล้ว!
Recommerce การสร้างคุณค่าจากสิ่งที่เคยซื้อมาแล้วให้กลับมามีประโยชน์ได้อีกครั้ง หรือเรียกง่ายๆ ว่าสินค้ามือสอง กำลังเป็นกระแสที่พูดถึงเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเช่นนี้ที่การควักกระเป๋าจ่ายของลูกค้านั้นมีความรอบคอบมากขึ้นกว่าเดิม