ภาวะเศรษฐกิจเช่นนี้ และวิกฤตที่รุมเร้าเข้ามา อาจทำให้ธุรกิจต้องสะดุด ขาดสภาพคล่องเลยอยากชวนมารีไฟแนนซ์สินเชื่อธุรกิจ อย่างน้อยเพื่อช่วยยืดระยะเวลาการใช้หนี้ออกไป ช่วยลดดอกเบี้ย ไปจนถึงอาจได้เงินอีกสักก้อนมาช่วยหมุนเวียนในธุรกิจ
ในยุคที่เศรษฐกิจผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรง ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ต่างต้องการ “เงินทุน” ในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่ “การเข้าถึงสินเชื่อในระบบ” ยังเป็นอุปสรรคสำคัญของผู้ประกอบการ ทางออกหนึ่งคือการหันไปหา “เงินกู้นอกระบบ”
ก่อนเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม รู้หรือไม่? ว่าพรรคการเมืองไหน มีนโยบายอะไรบ้าง หลากหลายพรรคก็แข่งกันนำเสนอนโยบายต่างๆ ออกมามากมาย วันนี้เราชวนมาดูแต่ละพรรค มีข้อเสนออะไร มาหนุนผู้ประกอบการรายย่อยบ้าง
การหาแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการ SME จะแบ่งออกเป็น 2 แนวทางหลัก คือ การกู้เงินผ่านช่องทางของตลาดเงิน และการระดมทุนผ่านช่องทางตลาดทุน ซึ่ง 2 แนวทางนี้มีความแตกต่างกัน มาดูกันว่าแนวทางใดที่เหมาะสมกับรูปแบบธุรกิจของเราที่สุด
ธุรกิจที่มีกระแสเงินสดดีอยู่แล้วและมีฐานเงินทุนที่มากพอ มีความจำเป็นต้องกู้เงินจากธนาคารให้เป็นภาระอีกหรือไม่?? หรือจะรับข้อเสนอจากสถาบันการเงิน ตัดสินใจกู้มาลงทุนหรือขยายธุรกิจเพิ่มดีล่ะ
ธพว.ยกขบวนช่วยเหลือ SME ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ชูแนวทางให้ “ความรู้คู่ทุน” แจงด้านการเงิน เยียวยาลดภาระค่าใช้จ่าย บรรเทาผลกระทบไปแล้วกว่า 4 หมื่นราย
ธพว. ผุดสินเชื่อใหม่ โครงการ SMART SMEs วงเงิน 20,000 ล้านบาท ตอบโจทย์ผู้ประกอบการไทยที่ต้องการเงินทุนเสริมสภาพคล่อง ขยายกิจการ เผยจุดเด่นคิดอัตราดอกเบี้ยสุดพิเศษ 0.55 เปอร์เซ็นต์ต่อเดือน ผ่อนนาน 10 ปี
จากการสำรวจ ‘การเข้าถึงสินเชื่อของ SME ไทย’ พบว่ามีเกินครึ่งที่ยังไม่มีการจัดทำบัญชีที่ถูกต้อง นี่คือความน่าเป็นห่วง เพราะอีกไม่กี่เดือนข้างหน้านี้ การบังคับใช้มาตรฐานบัญชีเดียว จึงจะขอสินเชื่อได้ ยิ่งส่งผลให้ SME รายเล็กๆ เหล่านี้ขาดโอกาสที่จะเข้าถึงแหล่งเงินทุน
EXIM BANK เปิดตัวบริการใหม่ “สินเชื่อเอ็กซิมเพื่อโซนพิเศษ (EXIM Special Zone Credit)” สนับสนุน SME ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานใน EEC พร้อมจับมือพันธมิตรให้บริการ “สินเชื่อ Soft Loan เพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ระยะที่ 2” ช่วย SME ลงทุนปรับปรุง ขยายกิจการ