เจาะลึกเทรนด์ร้านอาหารและเครื่องดื่มปี 2568 ที่ธุรกิจต้องรู้

 ในปี 2568 ยังคงเป็นสนามแข่งขันที่ดุเดือด ในบทความนี้ เราจะมาเจาะลึกแนวโน้มสำคัญๆ ที่กำลังเกิดขึ้นในวงการอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนธุรกิจและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

จับตาธุรกิจร้านอาหารประเภทใดจะรุ่งปี 2565

แม้จะมีการผ่อนปรนให้ผู้คนกลับมานั่งทานอาหารได้แล้ว แต่แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากยังมีปัจจัยเสี่ยงของการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้

จับตาอุตสาหกรรมอาหารจะรุ่งหรือร่วง หลังเจอวิกฤตไวรัส

จากช่องทางการสร้างรายได้ที่จำกัด ผลักดันให้บริการธุรกิจจัดส่งอาหาร (Food Delivery) กลายมาเป็นช่องทางการสร้างรายได้หลักของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร และทำให้เกิดเทรนด์พฤติกรรมของผู้บริโภคที่น่าสนใจหลายอย่างด้วยกัน

ทำธุรกิจร้านอาหารช่วงโควิด ต้องเผชิญกับความเสี่ยงอะไร แล้วทำยังไงถึงจะ “รอด”

เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด ผ่านพ้นช่วงที่เหลือของปี 2564 นี้ไปให้ได้ ผู้ประกอบการจำเป็นต้องสำรวจธุรกิจว่ามีความเสี่ยงแบบไหน จะเป็นเรื่องรายได้ ช่องทางการขาย ต้นทุน หรือภาระหนี้สิน เมื่อประเมินความเสี่ยงที่กำลังเผชิญอยู่ แล้วอุดจุดอ่อนเหล่านี้ให้ได้

หน้าร้านปิดแล้วไง! ‘ค้าปลีก-ร้านอาหาร’ พลิกกลยุทธ์ใช้ออนไลน์ปั๊มรายได้ช่วงวิกฤต

สถานการณ์ไวรัสโควิด-19 กระทบต่อภาคธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีกและร้านอาหารที่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการขายหน้าร้านเป็นหลัก หนึ่งในการปรับตัวเพื่อประคับประคองธุรกิจคือ การเพิ่มช่องทางการขายทางออนไลน์มากขึ้นนั่นเอง

Ready to Eat ยังไปต่อ! จับตาตลาด ‘อาหารพร้อมทาน’ ปี’63 เติบโตได้แต่ต้องใช้กลยุทธ์

ปี 2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าตลาดอาหารและเครื่องดื่มในประเทศจะโตเพียงร้อยละ 2.4-4.4 (YoY) แต่อาหารพร้อมทาน ยังมีแนวโน้มเติบโตสูงกว่าตลาดรวม โดยขยายตัวร้อยละ 3.0-5.0 (YoY) มีมูลค่าตลาดอยู่ที่ 20,200-20,500 ล้านบาท

กินเจปี’61 เงินสะพัดทั่วกรุงฯ 4,650 ล้าน ชูจุดขาย "อาหารเชิงสุขภาพ" ปัจจัยดึงกำลังซื้อเพิ่ม

ในแต่ละปี เทศกาลกินเจถูกจัดเป็นฤดูกาลทำตลาดที่สำคัญสำหรับผู้ประกอบการผลิตและจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มแต่ละกลุ่ม โดยเฉพาะตลาดเมืองกรุงฯ ถือเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งปีนี้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดจะมีเม็ดเงินสะพัดมากกว่า 4,650 ล้านบาท