"42 เนเจอรัลรับเบอร์" หนึ่งในผู้ประกอบการที่เคยเข้าร่วมพัฒนาปรับปรุงธุรกิจกับโตโยต้า จากความไม่รู้จักตัวเอง จนทำให้เกิดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต ล่าสุดสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง พร้อมได้รับเลือกจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโตโยต้าธุรกิจชุมชนพัฒน์ แห่งที่ 4 ขึ้นมา
ในสนามแข่งขันธุรกิจออนไลน์อันดุเดือด การจะอยู่รอดในธุรกิจนี้ได้ต้องทำอย่างไร ลองมาฟัง "วัชระ ทองสุข" CEO บริษัทฟอร์มี จำกัด เจ้าของธุรกิจขายสินค้าของแต่งบ้านผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ที่เริ่มต้นขึ้นมาจากศูนย์ จนสร้างรายได้กว่า 700 ล้านบาทกัน
เมื่อโลกการค้าเปลี่ยนมาอยู่บนช่องทางออนไลน์ หรืออีคอมเมิร์ซมากยิ่งขึ้น การขายหลายช่องทาง คือ การเพิ่มโอกาสให้กับธุรกิจ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะบริหารจัดการทุกอย่างให้ลงตัวได้
เพราะความตั้งใจดีที่อยากเป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกใหม่ให้กับผู้บริโภค "More Meat" หนึ่งในผู้พัฒนาโปรตีนทดแทนจากพืช (Plant based) จึงให้ความสำคัญกับคุณภาพและความปลอดภัยในการผลิตสินค้าตั้งแต่ต้นทางการคัดสรรวัตถุดิบ
ความสำเร็จของธุรกิจไม่ได้วัดกันที่ยอดขายเพียงอย่างเดียว แต่ความยาก คือ ทำยังไงถึงจะควบคุมต้นทุนให้ได้ด้วย เหมือนกับ “เจคิว ปูม้านึ่ง” อาหารทะเลเดลิเวอรีรายแรกๆ ของไทย ควบคุมภาพสินค้าให้ใหม่สดอยู่เสมอให้ถึงมือลูกค้า แต่ขณะเดียวกันก็ต้องบริหารจัดการสต็อกให้พอดี ไม่เหลือทิ้งด้วย
การทำธุรกิจ ไม่ว่าธุรกิจอะไรก็ตาม หนึ่งในคู่มือสำคัญที่จะช่วยส่งต่อความสำเร็จจากรุ่นสู่รุ่นได้ ก็คือ การสร้างมาตรฐานงานที่ชัดเจน สามารถวัดผล
จากการคิดต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินกิจการค้าข้าวและอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ภายใต้ชื่อของ V-Group หรือ วุฒิชัยกรุ๊ป มานานกว่า 30 ปี บริษัท โอชาฟูดแพ็ค จำกัด คือ 1 จาก 9 บริษัทในเครือ ผู้ส่งออกใบตองและผักผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ ที่ครั้งหนึ่งธุรกิจเกือบพัง เพราะขาดทุน
ย้อนไปเมื่อ 15 ปีก่อน เมื่อผู้บริโภคในไทยต่างเริ่มหันมาดูแลใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น แต่กลับมีช่องว่างในตลาด ผัก ผลไม้สดมีวางขายอยู่มากมายในท้องตลาด แต่กลับยังไม่มีแบรนด์ใดเลยที่หันมาจริงจังกับการแปรรูปให้เป็นผัก ผลไม้พร้อมรับประทานแบบได้มาตรฐาน
กว่า 5 ทศวรรษกับการเติบโตของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ไม้ภายใต้แบรนด์ “DEESAWAT” (ดีสวัสดิ์) แม้มีช่วงที่ต้องสะดุดจากการผลัดเปลี่ยนมือของผู้เป็นพ่อซึ่งเป็นคนก่อตั้งธุรกิจในลักษณะเฟอร์นิเจอร์ไม้แบบดั้งเดิมฝังมุก