ช่วงเทศกาลปีใหม่ที่น่าจะเป็นนาทีทองของ “ธุรกิจสินค้าพรีเมียม” แต่วันนี้ด้วยสภาพเศรษฐกิจ ทำให้องค์กรต่างๆ หันมารัดเข็มขัด ประหยัดงบ สั่งของขวัญของที่ระลึกแจกลูกค้ากันน้อยลง ส่งผลกระทบต่อผู้เล่นในอุตสาหกรรมนี้
การจับความต้องการของลูกค้าได้ เป็นเหมือนบันไดขั้นแรกของความสำเร็จ ธุรกิจที่จะเกิดและเติบโตได้จึงต้องเริ่มจากรู้ปัญหาของลูกค้า นำปัญหานั้นมาเป็นโจทย์ในการทำธุรกิจ หากแก้ปัญหาได้สำเร็จก็ได้ใจและได้เงินจากกระเป๋าของลูกค้า
หลายธุรกิจต้องหยุดชะงักกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาในยุคดิจิทัล ซึ่งการเปลี่ยนผ่านนั้นไม่ได้เกิดขึ้นแค่กับธุรกิจใหญ่ๆ เท่านั้น หากแต่ SME ก็ได้รับผลกระทบมากน้อยไปด้วยเช่นกัน
เชื่อหรือไม่ว่า “ทัศนคติและมุมมอง” สามารถเปลี่ยนทุกสิ่งได้ แม้แต่การเปลี่ยนปัญหาให้เป็นโอกาส เปลี่ยนอุปสรรคให้เป็นเส้นทางสู่ความสำเร็จ เช่นเดียวกับ “farmfactory” ร้านสลัดจานด่วนที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคยุคใหม่ ซึ่งเริ่มต้นจากคนไม่รู้ธุรกิจ และเจอกับอุปสรรคหนักๆ อยู่หลายครั้..
โลกกำลังจะมีผู้บริโภคกลุ่มใหญ่เป็น “คนสูงวัย” ขณะที่ไทยเราเองก็จะเป็นประเทศกำลังพัฒนาประเทศแรกที่ก้าวเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2565 และเป็นสังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์อย่างเต็มที่ในอีกราว 10 ปีหลังจากนั้น สำหรับ SME นี่คือสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของตลาด ที่มาพร้อมกับ “โอกาส”
การทำธุรกิจในปีนี้ เป็นอีกปีที่โหดหินสำหรับผู้ประกอบการ SME ไทย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ส่งออก ที่ได้รับผลกระทบจากทั้งสงครามการค้า เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว และค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น บวกเศรษฐกิจภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัว
สำหรับผู้ประกอบการส่งออก นี่นับเป็นอีกปีที่หนักหน่วง และต้องเดิมพันความอยู่รอดด้วยสายป่านที่แต่ละคนมี เพราะไม่ว่าจะปรับตัวมากี่กระบวนท่ากี่วิธีก็ดูจะไม่มีทางออกง่ายๆ ชวนคุยกับผู้ส่งออกที่ต้องรับชะตากรรม “จำศีล-รัดเข็มขัด” สังเวยความช้ำธุรกิจส่งออกปี 62
ไม่ใช่ทุกธุรกิจที่จะเติบโตยาวนานจนสืบทอดกิจการให้แก่รุ่นลูกได้ ธุรกิจไหนที่ดำเนินกิจการมาอย่างยาวนานจนส่งไม้ต่อให้ Next Gen ได้ก็ถือว่าเป็นธุรกิจที่แข็งแกร่งมากเลยทีเดียว
“ร้อยโท พัชโรดม อุนสุวรรณ” อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลอัมพวา เขาคือผู้บุกเบิก “ตลาดน้ำอัมพวา” ให้เป็นที่รู้จัก โดยดึงมนต์เสน่ห์ท้องถิ่น อย่าง วิถีชีวิตชุมชน บ้านเรือน สิ่งแวดล้อม และประวัติศาสตร์ เนรมิตสู่แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่
หลายปีก่อน “วัสดุดามกระดูก” ยังไม่มีผลิตในประเทศไทย ทั้งที่คนไทยประสบอุบัติเหตุที่ทำให้กระดูกแตกหักเป็นจำนวนมาก ออโธพีเซีย จึงถือกำเนิดขึ้นในปี 2545 โดยเป็นบริษัทแรกในไทยที่ผลิตวัสดุดามกระดูกฝังใน ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากกว่า 140 โรงพยาบาลทั่วประเทศ
จัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 5 แล้ว สำหรับงาน “K SME Matching Day” โดยธนาคารกสิกรไทย เพื่อช่วยต่อยอดให้ SME สามารถขยายตลาดให้เติบโตเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากพันธมิตรภาครัฐและเอกชน รวมถึงช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ๆ
หากคุณเดินเข้าไปในครัวอาจจะเห็นกล่องถนอมอาหาร Super Lock หรือสินค้าอื่นๆ ของ Micron Ware โดยที่ไม่ได้สังเกต นี่คือแบรนด์ที่อยู่คู่ครัวเรือนไทยมาอย่างยาวนานนับ 30 ปี แม้จะไม่ได้หวือหวา เปรี้ยงปร้างแต่นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทยไปคนปริยาย