ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมโปรตีนทางเลือกมีความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด จนกลายเป็นกระแสหลักไปแล้ว ซึ่ง Green Queen ได้คาดการณ์แนวโน้มโปรตีนทางเลือก 13 อันดับที่น่าจับตามอง
นาทีที่คุณเริ่มพยายามขายของเมื่อไร นั่นคือเวลาที่ผู้บริโภค Gen Z จะบอกลาร้านค้าของคุณแน่ๆ นี่คือ 4 เทคนิคจากแบรนด์ดังระดับโลก ที่บอกว่าอย่าเอาแต่ขายแต่จงก่อร่างสร้างความสัมพันธ์ในคอมมูนิตี้ หากเมื่อจริงจังและจริงใจกับพวกเขาเมื่อไร ยอดขายก็ตามมา
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
ใครจะคิดว่าร้านขนมครกใบเตย ที่เคยขายอยู่หน้าร้านสุกี้ดัง ตรงสยามสแควร์ และเป็นตำนานความอร่อยมานานกว่า 45 ปี วันหนึ่งจะกลายเป็นแบรนด์ขึ้นห้างฯ ยกระดับตัวเองสู่ “ร้านขนมสยาม” (KANOM SIAM) เจ้าของเมนูดัง “ขนมครกใบเตยผสมกัญชา” ในวันนี้ได้
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
“Pangaia” ร่วมกับ “Graviky Labs” ห้องแล็บที่มีการวิจัยดักจับคาร์บอนหรือควันพิษในอากาศผลิตเป็นหมึกพิมพ์ลงบนวัสดุต่างๆ โดยมีชื่อว่า “Air Ink” จนได้เป็นสีสำหรับใช้ย้อมผ้าหรือสกรีนลงบนเนื้อผ้าขึ้นมาเป็นครั้งแรกของโลก
“Patagonia” แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นเอาท์ดอร์ที่มีแนวทางการทำธุรกิจสุดแหวก จากครั้งหนึ่งเคยประกาศลงโฆษณาหน้าหนังสือพิมพ์ว่าอย่าซื้อสินค้าของตัวเอง จนล่าสุดเปิดร้านขายเสื้อผ้ามือสองควบคู่กับของสินค้าใหม่
ปรีดาธพันธุ์ จันทร์เรือง” เขาคือนักธุรกิจเกษตร ที่ยอมทิ้งเงินเดือน 6 หมื่น กับตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน ไปเป็นเกษตรกรที่บ้านเกิด สิ่งที่เขาจะคุยกับเรา ไม่ใช่ภาพของความสำเร็จ มาฟังเรื่องราวความชอกช้ำของคนทำนวัตกรรมอย่างเขาไปพร้อมกัน
ในปีที่ผ่านมาท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 “Organics Buddy” ยังโตได้ถึง 10-15 เปอร์เซ็นต์ แต่การเติบโตนี้ไม่ได้มาจากความบังเอิญ พวกเขาทำสินค้าออร์แกนิกแบบไหนให้ตอบโจทย์ทั้งธุรกิจ ผู้บริโภค และโลก
ใครจะคิดว่ากิจกรรมลูกทุ่งๆ ของเด็กน้อยบ้านนาอย่าง ดำนา ขี่ควาย เล่นสไลเดอร์โคลนจนตัวเลอะมอม จะกลายเป็นเสน่ห์ที่ดึงดูดและโดนใจเหล่าเด็กเมืองไปได้ จนทำให้ชื่อของ “จินเจอร์ ฟาร์ม” (Ginger Farm) ถูกพูดถึงอย่างมากในโลกโซเชียล
บางคนรู้สึกว่าหากสถานการณ์กลับไปเป็นปกติ การกลับไปทำงานในสำนักงานแบบ 100 เปอร์เซ็นต์น่าจะดีกว่า บางคนก็รู้สึกว่าชอบการทำงานแบบระยะไกล แล้วผู้ประกอบการจะรู้ได้อย่างไร ว่าการทำงานแบบไหนจะเหมาะสำหรับธุรกิจของตัวเอง
เกือบ 2 ปีที่เราอยู่กับโรคระบาด ผู้คนอยากกลับไปใช้ชีวิตเหมือนช่วงก่อนโควิด-19 เต็มที แต่ในอีกมุมหนึ่ง หลายธุรกิจได้สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับผู้บริโภคในช่วงเวลาดังกล่าวได้กลายเป็นมาตรฐานใหม่ที่ลูกค้าคาดหวัง เพราะลูกค้าติดอกติดใจแบบนี้ซะแล้วสิ