เป็นปัญหาสุดคลาสสิกที่ธุรกิจจะเล็กหรือใหญ่ก็มักต้องประสบพบเจอกับปัญหาหนักอกกับการติดตามลูกหนี้ที่ถือคติ ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย ลองมาดู How to จัดการลูกหนี้ฉบับเร่งรัดกัน
Value for Money (VfM) หรือ “ความคุ้มค่าเงินที่จ่ายไป” กำลังเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง เพราะมุมมองของนักท่องเที่ยวกำลังเริ่มพิจารณามากขึ้นว่าเงินที่เขาจ่ายไปเหมาะสมกับสิ่งที่ได้รับหรือไม่?
แม้จะต้องบอบช้ำกับสถานการณ์โควิด-19 ที่เข้ามาตั้งแต่ต้นปี แต่เมื่อเวียนมาถึงไฮซีซั่นท้ายปีความหวังก็เริ่มกลับมาอีกครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะเมื่อมีโครงการสนับสนุนจากภาครัฐอย่าง “เราเที่ยวด้วยกัน” เข้ามา จากบรรยากาศเงียบเหงาก็ดูจะคึกคักมากขึ้น
ธุรกิจอะไรล่ะที่น่าทำ กำลังเป็นเทรนด์ และมีความหวังสุดในอนาคต และดูจะเป็นแต้มต่อของประเทศไทยเสียด้วย คำตอบก็คือ F-A-T-E
แบรนด์เส้นพลาสติก “BUNNY TAPE” ยอมลงทุนปั้น KATHANA แบรนด์กระเป๋าของตัวเองขึ้นมา เพียงเพราะต้องการเปิดตลาดให้กับลูกค้า มากกว่าที่จะกระโดดเข้ามาลงเล่นอยู่ในตลาดแบบจริงจัง
ก่อนจะฝันไปไกลและต้องตกม้าตายกลางทาง ต้อง “ดึงสติ” ให้หลุดจากโรคหลงตัวเองเพื่อเผชิญหน้าความจริงที่ว่า เริ่มต้นธุรกิจแบบไหนก็เจ๊งได้ถ้าไม่เข้าใจปัญหาของลูกค้า
การมี Story จะช่วยให้เรามีภูมิต้านทานต่อคู่แข่งได้ ต่อให้ศัตรูจะมีผลิตภัณฑ์ที่เหนือกว่าเรา แต่เขาไม่สามารถเอาชนะ Story ของเราได้ และการสร้าง Story ในปัจจุบัน คงไม่มีสื่อใดเหมาะไปกว่า Facebook อีกแล้ว
ในยุคที่เศรฐกิจขาขึ้น คือขาขึ้นมาก่ายหัวกันแบบนี้ ไม่ใช้แขนก่ายกันแล้ว คนทำธุรกิจหลายคนคิดไม่ตกเลยว่าจะหันไปทางไหนดีถึงจะมีทางออกและอยู่รอดในเหตุการณ์ปัจจุบันได้ แค่ "โครงการคนละครึ่ง" ได้เข้ามาเป็นตัวช่วยในภาวะเช่นนี้
คยคิดสงสัยกันไหมว่าเพราะเหตุใดความเรียบง่ายสไตล์มูจิจึงสามารถครองใจผู้คนทั่วโลกได้ ต้องเรียบง่ายแค่ไหนถึงจะประสบความสำเร็จได้แบบนี้ วันนี้เราจะพาไปทำความรู้จักความเรียบและง่าย จนสามารถมูลค่าเพิ่มให้ธุรกิจขึ้นมาได้แบบมูจิกัน
“โบว์แดง” แบรนด์ยาสมุนไพรไทยที่เติบโตขึ้นมามีผลิตภัณฑ์เป็นของตัวเอง แต่ก็ต้องเกือบเจ๊งเพราะโดนก๊อบปี้สูตร โดนขายตัดราคา ทว่าวันหนึ่งก็สามารถเติบโตขึ้นมาได้แบบก้าวกระโดด เพราะได้รับแรงบันดาลใจจากการดูภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง
ในยุคที่โลกธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งจากโควิด-19 หรือสภาพเศรษฐกิจ ที่ทำให้คนตัดสินใจลงทุนหรือเลือกซื้อสินค้าเปลี่ยนไป ผู้ประกอบการ SME และ Startup จำเป็นต้องเตรียมตัวและรับรู้เทรนด์ใหม่ๆ ของตลาดก่อนใคร
จากคำเคยกล่าว “ปู่สร้าง พ่อขยาย ลูกหลานทำเจ๊ง” ธุรกิจอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น วันนี้อายุไขธุรกิจอาจสั้นไปกว่านั้น ทำอย่างไรธุรกิจครอบครัวถึงจะยังคงอยู่ และแข็งแกร่งเหนือความเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤต