ใครที่เคยมีภาพจำว่า การทำไอศกรีมด้วยตัวเองจะเป็นเรื่องยุ่งยาก แถมยังต้องใช้อุปกรณ์เว่อวังมากมาย อาจจะต้องเปลี่ยนใจ ถ้าได้รู้จักกับ “แฮปปี้พลัส” (HAPPY PLUS) ไอศกรีมผงกึ่งสำเร็จรูป ที่สามารถทำเองได้ง่ายๆ
“CLASS Café” เป็น SME ที่เติบโตด้วยวิธีคิดแบบ Startup โดยลงทุนขยายสาขาอย่างรวดเร็ว แต่วิกฤตโควิด-19 ที่โหมกระหน่ำทั่วโลก ทำให้พวกเขาต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแกร่ง แบบที่หากเจอเรื่องไม่คาดฝันในอนาคต ธุรกิจก็จะยังสามารถคงอยู่ต่อไปได้
จมูกข้าวฮางงอกจากข้าวไทย 6 สายพันธุ์ ผลิตภัณฑ์ Pop Rice ซีเรียลจากข้าวไรซ์เบอร์รีออร์แกนิก เซรั่มและ สบู่ข้าวไรซ์เบอร์รี คือตัวอย่างผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจากข้าว ของแบรนด์ “ข้าวคุณแม่” ที่คว้ารางวัลมาจากหลายเวที และมีรายได้ต่อปีอยู่ที่หลักล้านบาท!
ประเทศไทยเป็นหมุดหมายด้านการท่องเที่ยว ที่เหล่าบุคคลสำคัญของโลกต่างเดินทางมาเยี่ยมเยือนไม่ขาดสาย ทันทีที่ถึงเมืองไทย มีหนึ่งธุรกิจคอยทำหน้าที่ให้การต้อนรับในแบบ “Exclusive” พวกเขาคือ Coral
พฤติกรรมผู้บริโภคคนไทย หลังผจญกับสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 และเริ่มเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบ New Normal ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากมาย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า มูลค่าตลาดแพ็กเกจจิ้งอาหารรักษ์โลกปี 2563 เติบโตเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นมูลค่า 2,100-2,400 ล้านบาท และใน 5 ปีข้างหน้าคาดว่าจะเติบโตไปแตะ 13,000-16,000 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดประมาณ 8-10 เปอร์เซ็นต์
มีผู้ประกอบการจำนวนไม่น้อยที่เริ่มต้นธุรกิจจากความคลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่นเดียวกับ “ยุวดี มีทำ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท แคปหมึก ฟู้ดแอนด์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด เจ้าของผลิตภัณฑ์แคปหมึก ตรา Ocean Boy เธอนิยามตัวเองว่าเป็น “Squid Lover” สาวกที่ชื่นชอบปลาหมึกเป็นชีวิตจิตใจ
"Whip Me" ร้านเครปเย็นจากนนทบุรีที่เพิ่งกลายเป็นกระแสไวรัลเล็กๆ ให้ผู้คนเข้ามารีทวิตกันมากกว่าห้าหมื่นครั้ง จากแคปชันกวนๆ ทำให้ลูกค้าแม้ไม่เคยมาที่หน้าร้าน ไม่เคยได้เห็นสินค้าจริง ก็สามารถตัดสินใจซื้อและเป็นลูกค้าได้ไม่ยาก
การมาถึงของโควิด-19 มาพร้อมบทเรียนสำคัญให้กับผู้ประกอบการ SME ไทย ช่วยให้พวกเราได้เรียนรู้ ปรับตัว สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่ออยู่รอดได้อย่างแข็งแกร่ง ใน Survival Economy
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
เขาว่าความสวยรอไม่ได้ แม้ในวิกฤตไวรัสแต่ใครล่ะจะอยากหยุดสวย ธุรกิจความงามเลยยังคงอยู่รอดและไปต่อได้แม้ในสถานการณ์โควิด-19