จากเงินเดือนหลักแสนบาท ใครจะคิดว่าวันหนึ่ง “ไพศาล ยอดนาม” หรือ “เชฟเฉา” อดีตหัวหน้าวิศวกรยานยนต์จะยอมตัดสินใจทิ้งหน้าที่การงานมั่นคง เพื่อก้าวออกมาเปิดร้านขายสปาเก็ตตี้ในราคากล่องละไม่กี่สิบบาท แต่ที่สำคัญกลับทำรายได้หลักล้านต่อเดือนได้
ในยามที่วิกฤตรุมเร้าเข้ามาจนแทบตั้งตัวไม่อยู่ อาจทำให้ผู้ประกอบการหลายคนตกอยู่ในอาการมืดแปดด้าน คิดไม่ออก ไม่รู้จะเริ่มต้นแก้ไขปัญหาจากตรงไหนดี วันนี้เรามี 7 วิธี จาก 7 ผู้ประกอบการตัวอย่างที่เคยผ่านพ้นวิฤตมาแล้วมาฝาก
สาเหตุหลักที่ทำให้ธุรกิจส่วนใหญ่ไปต่อไม่ได้ คือ ขาดทุนสะสมและขาดสภาพคล่อง โดยที่ปัญหาส่วนใหญ่ของ SME คือ บางทีไม่รู้ด้วยซ้ำว่าตัวเองขาดทุนอยู่ หรือขาดทุนเพราะอะไร วันนี้เลยชวนมาหาต้นทุนที่แท้จริง เพื่อเห็นกำไรธุรกิจกัน
จากยุคสมัยที่ธุรกิจเปลี่ยนจากปลาใหญ่กินปลาเล็ก เข้าสู่ยุคปลาเร็วกินปลาช้า จนถึงล่าสุดปลาไม่ว่าตัวเล็กหรือตัวใหญ่ จะว่ายไวหรือว่ายช้า ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงตัวเองให้สอดรับกับพฤติกรรมใหม่ของผู้บริโภค ไม่รอดทั้งนั้น
รู้หรือไหมว่าการตั้งราคาเป็นตัวกำหนดอะไรหลายๆ อย่างของธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นภาพลักษณ์ของแบรนด์หรือกลุ่มเป้าหมาย เป็นต้น ดังนั้นการตั้งราคาจึงมีความสำคัญกับธุรกิจมาก จะอยู่ได้หรือไปต่อก็อยู่ที่การตั้งราคาของสินค้า
ถึงแม้ว่ากระแสชานมไข่มุกในปัจจุบันจะเบาลงและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปบ้าง แต่ธุรกิจชานมไข่มุกรายใหญ่ๆ ก็ยังคงเติบโตกันอย่างต่อเนื่อง
ว่าด้วยอุณหภูมิที่ร้อนระอุของบ้านเรา หนึ่งในสินค้าขายดีตลอดกาลก็คงหนีไม่พ้นสินค้าช่วยคลายร้อน ซึ่งในแต่ละเซกเมนต์ก็มีเจ้าตลาดอยู่หลายแบรนด์ด้วยกันทำรายได้ปีๆ หนึ่งเป็นพันล้านบาท
ในช่วงที่ผ่านมาเชื่อว่าในการทำธุรกิจของผู้ประกอบการไทยทุกคนต้องเจอกับเรื่องของกระแสเงินสดที่อาจไม่คล่องตัว ซึ่งการจะประคองธุรกิจให้อยู่รอดได้การรักษาสภาพคล่องหรือเงินทุนหมุนเวียนสำคัญที่สุด
ไม่ได้ดังแค่จาก ลิซ่า BLACKPINK แต่ "Asava" ยังเป็นแบรนด์แฟชั่นไทยระดับโลกที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ พอๆ กับเรื่องราวชีวิตของ "หมู อาซาว่า" เจ้าของแบรนด์ที่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ชีวิตไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
นับเป็นเวลาเกือบ 2 ปีที่ธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะขนาดเล็กกลางใหญ่ล้วนโดนพิษโควิด-19 เล่นงาน มีธุรกิจจำนวนไม่น้อยที่ต้องปิดตัว แต่ก็ยังมี ‘เหล่าผู้รอดชีวิต’ จากวิกฤตครั้งนี้ได้ แล้วกลยุทธ์อะไรที่พาให้พวกเขารอด!
แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
ข้อดีของการเป็นสินค้าเจ้าแรกๆ ของตลาด คือ มักเป็นที่จดจำแก่ลูกค้าได้อย่างแน่นอน แต่ในอีกมุมหนึ่งอาจต้องแลกมาด้วยร่องรอยและบาดแผลที่บอบช้ำมากกว่าสักหน่อยถึงจะยืนหยัดขึ้นมาได้ เหมือน “ทิพรส” ผู้ให้กำเนิดน้ำปลาในเมืองไทย