ตามที่สถานการณ์โควิด-19 ระลอกใหม่ ธนาคารไทยพาณิชย์จึงได้ขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือระยะ 3 เพื่อบรรเทาผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจให้กับลูกค้าจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
เมื่อชีวิตในเมืองหลวงไม่ตอบโจทย์ “เสาวลักษณ์ มณีทอง” ลูกหลานเกษตรกรใน อ.แม่ระมาด จ.ตาก ตัดสินใจกลับไปบ้านเกิดทำธุรกิจแปรรูปสมุนไพร สร้างรายได้และความสุขสู่ชุมชน และยังส่งออกไปไกลถึง อเมริกา ศรีลังกา และออสเตรเลีย
SME D Bank ช่วยต่อเนื่อง ออกมาตรการ “พักหนี้อุ่นใจ เติมเงินใหม่ไปต่อ” ดูแลเอสเอ็มอีไทย ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่ ให้สิทธิลูกค้าเดิมพักชำระหนี้เงินต้น 6 เดือน พร้อมเติมเงินเสริมสภาพคล่อง ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน
การระบาดระลอกใหม่นี้แน่นอนว่าจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยและธุรกิจต่างๆ ที่เพิ่งจะเริ่มฟื้นตัวในช่วงปลายปีที่ผ่านมาให้กลับทรุดลง หรือยืดระยะเวลาการฟื้นตัวออกไปจากที่เคยคาดการณ์ไว้ พร้อมกับยังมีความไม่แน่นอนและปัจจัยเสี่ยงหลายประการที่ยังคงต้องติดตาม
วิกฤตโควิด-19 ทำให้การเดินทางระหว่างประเทศมีข้อจำกัด ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว รวมถึงกลุ่มสินค้าของฝากด้วย แต่จาก Google Trend กลับพบว่าสินค้าของฝากนี่ล่ะที่ถูกค้นหาและสั่งซื้อผ่านช่องทางออนไลน์โดยที่นักท่องเที่ยวไม่ต้องเดินทางมาเมืองไทยด้วยซ้ำ
ใครยังจำตำนานความอร่อยและชื่อเสียงของส้มบางมดย่านฝั่งธนได้บ้าง วันนี้ทายาทรุ่นที่ 3 หนึ่งในลูกหลานสวนส้มบางมด ได้ต่อยอดธุรกิจไปทำน้ำผลไม้คุณภาพ สร้างยอดขายปังทั้งในห้างดังและ 7-11
แม้ว่าหลายๆ ธุรกิจอาจมีการชะลอตัวลงของยอดขายในช่วงวันหยุดยาว คำถามคือ แล้วเราจะทำอย่างไรให้ธุรกิจของเราเข้าไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดในช่วงวันหยุดยาวที่ว่านี้ได้
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
วัน-อมตะ สุขพันธ์ และ ออฟ-ณิสาพัฒน์ ทองประทุม คู่รักผู้ก่อตั้ง หจก.วัน-ออฟ คอฟฟี่ ฟาร์มสเตย์ จ.แม่ฮ่องสอน ที่กลายมาเป็นผู้ประกอบการจากจุดเริ่มต้นแค่อยากวางแผนเกษียณตัวเองจากงานที่ทำเพื่อไปใช้ชีวิตที่สงบสุขในต่างจังหวัด
รู้จักกับแบรนด์เล็กๆ ที่ชื่อ “JIB” ไม่ใช่ร้านขายคอมพิวเตอร์ชื่อดัง แต่คือคนขายกล้วยน้ำว้าที่มีตลาดหลักคือร้าน 7-11 และส่งผลผลิตกล้วยสูงถึง 6 พันลูกต่อวัน
ปัญหาหนึ่งที่ผู้ประกอบการ SME ต้องประสบพบเจอก็คือการที่ไม่สามารถขอกู้เงินจากธนาคารได้ แต่ปัจจุบันได้มีกฎเกณฑ์ใหม่รวมถึงเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ประกอบการ SME สามารถที่จะเข้าถึงเงินกู้จากธนาคาร ไม่ว่าจะกู้มาเพื่อใช้ในกิจการหรือส่วนตัวก็ตาม
ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถสูง เป็นคนที่ใช่ (Right People) สำหรับองค์กร ต้องมีการกำหนดคุณสมบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติสำคัญที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป พอสรุปได้เป็นโมเดลที่เรียกว่า “Good-Can-Want Model”