ผู้ประกอบการเชียงคานได้ร่วมกันจัดทำโปรเจกต์ “เชียงคาน สบายใจ” ขึ้นมา เพื่อช่วยป้องกันและต่อสู้กับโรคระบาดอย่างไวรัสโควิด-19 ในยามที่ไร้เงาจากนักท่องเที่ยว แถมยังต้องรับมือกับไวรัสร้ายที่มาเยือนถึงตัว
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้บีบบังคับให้ผู้ประกอบการต้องสู้ยิบตา ถ้าไม่สู้ก็ไม่รอด วันนี้เราจึงขอหยิบนำมาเล่าต่อให้ฟังจาก 2 เคสตัวอย่างของ 2 ผู้ประกอบการที่มีวิธีการรับมือจากวิกฤตแตกต่างกันไป จะเป็นใครนั้นลองไปดูกันเลย
การมีพ่อครัวมาทำอาหารถึงที่บ้านเคยเป็นประสบการณ์เฉพาะสำหรับคนรวย แต่ Yhangry กำลังทำให้ ไม่ว่าใครก็จ้างเชฟส่วนตัวไปสร้างสรรค์มื้ออาหารที่บ้านได้ทั้งนั้น ในราคาที่ไม่สูงเกินเอื้อมถึง
การทำธุรกิจในยุควิกฤตที่สถานการณ์ไม่แน่นอน หากเราสามารถเตรียมตัวรับมือล่วงหน้าเอาไว้ก่อนได้ตั้งแต่เริ่มต้นทำธุรกิจ คิดเผื่อถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในภายภาคหน้า ก็อาจทำให้หากต้องล้ม ก็ล้มได้แบบเจ็บตัวน้อยที่สุด
เพราะเมืองไทย คือ แหล่งรวมภูมิปัญญามากมาย แต่น่าเสียดายที่หลายอย่างต้องสูญหายไป “เพียรหยดตาล” น้ำตาลมะพร้าวอินทรีย์คุณภาพดีแห่งจ.สมุทรสงคราม คือ ตัวอย่างแบรนด์ที่สามารถรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิมเอาไว้ได้ควบคู่กับการทำธุรกิจอย่างยั่งยืน
จากระยะเวลาเกือบปีครึ่งที่ผ่านมา จนถึงวันนี้เราทุกคนยังตกอยู่ในวิกฤตจากไวรัสโควิด-19 ซึ่งก็ไม่รู้ว่าจะกินเวลายาวนานไปอีกสักเท่าใด ในวันนี้จึงขอส่งกำลังใจให้กับผู้ประกอบการไทยอีกครั้งผ่าน 10 บทสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลือดนักสู้ที่ไม่ยอมแพ้ต่อโควิด
ปกติเวลาซื้อผลไม้มารับประทาน เรามักจะซื้อกันเป็นลูกๆ หรือกิโลกรัม เพราะคงไม่มีใครที่ตัดแบ่งขายเฉพาะส่วนให้ แต่อาจไม่ใช่กับ “แตงโม แตงโหม่ว แตงโม” ร้านขายแตงโมออนไลน์ที่เลือกเอาเฉพาะแกนแตงโตแบบไร้เมล็ดกวนใจมาขายให้กับลูกค้า
เป็นกระแสดังขึ้นมาชั่วข้ามคืนบนโซเชียลขึ้นมาอีกหนึ่งแบรนด์ สำหรับ “ซอสพริกแม่พลอย” ที่มีหนุ่มเจ้ากรรมขี้สงสัยโทรไปสอบถามถึงโรงงานผู้ผลิต จนกลายเป็นกระแสโด่งดังใน Tiktok ผู้ผลิตตัวจริง คือ ใครกันแน่ อยากรู้ไปติดตามกัน
ภาพถ่าย ถือเป็นสิ่งสำคัญด่านแรกๆ ของการประชาสัมพันธ์สินค้า ซึ่งหากใช้ได้ดีถูกวิธีก็จะช่วยเพิ่มยอดขายขึ้นมาได้อีกเป็นกองเลยทีเดียว เหมือนเช่นกับ “Li-né” (ลิเน่) แบรนด์แฟชั่นเสื้อผ้าลินินผู้หญิงและผู้ชายที่สไตล์การใช้รูปภาพไม่เหมือนใคร
ขณะที่ Alireza Kharazipour กำลังเพลิดเพลินกับการกินข้าวโพดคั่วพร้อมกับรับชมภาพยนตร์ ก็เกิดปิ้งไอเดียขึ้นมา ว่าถ้าหากนำข้าวโพดคั่วที่มีลักษณะคล้ายโฟมซึ่งมีน้ำหนักเบา แต่ขณะเดียวกันก็ยึดหยุ่น และมีความหนามากพอที่จะมาทำบรรจุภัณฑ์ได้
ในขณะที่หลายธุรกิจต้องเจ็บตัวและสูญเสียรายได้เพราะวิกฤตโควิด-19 แต่ “Sawadee” แบรนด์อโรม่าบาล์มของสาวเภสัชกรกลับใช้โอกาสจากวิกฤตที่มีจากเวลาว่างใน Work From Home สร้างเป็นธุรกิจเล็กๆ ของตัวเองขึ้นมาได้ในเวลาเพียง 3 เดือนเศษ
นาราวิสาหกิจ ผูัเปลี่ยนต้นกระจูดให้กลายเป็น “หลอดดูดรักษ์โลก” สร้างงานสร้างรายได้สู่ชุมชน และร่วมลดการใช้หลอดพลาสติกที่เป็นพิษกับโลก จนก่อเกิดเป็นโอกาสธุรกิจใหม่ที่ไม่ได้มีแค่ประเทศไทย แต่เป้าหมายคือส่งออกไปทั่วโลก