“คนเผาถ่าน” คำพูดที่ติดอยู่ในใจ บอย-ปราโมทย์ เตือประโคน มากว่า 20 ปี กลายเป็นคำที่ทำให้เขายอมตัดสินใจลาออกจากงานประจำทันทีตอนที่ขายถ่านได้ 10 ตัน ก้าวสู่เจ้าของโรงงานถ่านอัดแท่งที่ทำรายได้ปีละ 8 หลักในเวลาสองปี
ที่ผ่านมาเราไม่สามารถซื้อโฆษณาผ่านช่องทาง Line ด้วยตัวเองได้โดยตรงต้องซื้อผ่านเอเจนซี่เท่านั้น ฉะนั้น นี่เป็นข่าวดีสำหรับผู้ประกอบการก็ได้ที่ในวันนี้ไลน์ได้มีการปรับปรุงรูปแบบการให้บริการที่ง่ายขึ้น ผ่าน“Line Ads Platfrom”หรือ LAP
การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
สถานการณ์การระบาดสร้างความเสียหายให้กับธุรกิจ แต่อย่าเอาแต่โฟกัสไปที่ผลกระทบด้านลบที่โควิด-19 มี เรามาเรียนรู้บทเรียนที่แบรนด์ต่างๆ สามารถเรียนรู้ได้จากวิกฤตครั้งนี้กัน
ภาพถ่าย ถือเป็นสิ่งสำคัญด่านแรกๆ ของการประชาสัมพันธ์สินค้า ซึ่งหากใช้ได้ดีถูกวิธีก็จะช่วยเพิ่มยอดขายขึ้นมาได้อีกเป็นกองเลยทีเดียว เหมือนเช่นกับ “Li-né” (ลิเน่) แบรนด์แฟชั่นเสื้อผ้าลินินผู้หญิงและผู้ชายที่สไตล์การใช้รูปภาพไม่เหมือนใคร
จากตัวเลขส่งออกที่เพิ่มขึ้นประกอบกับกระแสความต้องการทุเรียนจากตลาดจีน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองการส่งออกทุเรียนสดของไทยในปี 2564 น่าจะเร่งตัวได้ราว 35-40 เปอร์เซ็นต์ มีมูลค่า 2,800-2,900 ล้านดอลลาร์ฯ
ยุคนี้จะทำไข่เค็มธรรมดาได้ที่ไหน ถ้าอยากขายดีขายรุ่งในยุคโควิดก็ต้องรู้จัก “คิดต่าง” และใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วย นี่คือ ไข่แดงเค็มผงสำเร็จรูปพร้อมปรุง และผงปรุงรสไข่เค็ม ที่กลายเป็นทางเลือกความอร่อยของยุคใหม่
เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานที่บ้านผ่านออนไลน์ ในยุค New Normalมาลองทำความรู้จักกับนวัตกรรมด้าน IT ของ BenQ แบรนด์จากไต้หวัน เพื่อตอบโจทย์การทำงานและการเรียนออนไลน์อย่างครบวงจรตั้งแต่ที่ทำงานจนถึงที่บ้าน
ผู้ประกอบการหลายคนอาจผลิตเก่ง ทำของดี มีแบรนด์ปัง แต่ต้องมาตกม้าตายเพราะปัญหาสต็อกสินค้า ป้าตือ ย้ำว่า การจัดการแบรนด์โดยเฉพาะเรื่องการเคลียร์สต็อกเป็นสิ่งสำคัญ ไม่ว่าจะทำในรูปแบบของ New Form หรือ Re-Construction ก็ตาม
วันนี้ถ้าบอกว่ามีคนไลฟ์ขายเสื้อผ้าได้วันละเป็นพันตัวคงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าย้อนไปเมื่อ 4 ปีก่อน ในยุคที่เฟซบุ๊กเพิ่งเริ่มมีฟังก์ชันไลฟ์ (Live) ร้านขายผ้าไทยในเมืองน่านที่ชื่อ “น่านบุรี” เคยไลฟ์ขายผ้าแฮนด์เมดได้ถึงวันละกว่า 600 ตัว
จากการทำธุรกิจไอศกรีมแบบ B2B ให้กับโรงแรมและร้านอาหารต่างๆ มานานกว่า 8 ปี แต่หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 กลายเป็นที่มาของโมเดลธุรกิจใหม่ สร้างอีกหนึ่งประสบการณ์ทางเลือกของการสั่งซื้อไอศกรีมมารับประทานที่บ้าน ภายใต้ชื่อแบรนด์ “Molto Premium Gelato”