เที่ยวภูเก็ตยุคไหนก็ไม่แฮปปี้เท่ายุคนี้ ยุคที่กำเงินหลักร้อยหลักพันก็สามารถชมความสวยงามของภูเก็ตได้แบบ Exclusive ได้เสพความ “โลคัลสู่เลอค่า” แบบจริงๆ จังๆ ลบภาพจำของเมืองท่องเที่ยวยอดนิยมที่ทั้ง "แพงและไม่ต้อนรับคนไทย" ไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง
"Whip Me" ร้านเครปเย็นจากนนทบุรีที่เพิ่งกลายเป็นกระแสไวรัลเล็กๆ ให้ผู้คนเข้ามารีทวิตกันมากกว่าห้าหมื่นครั้ง จากแคปชันกวนๆ ทำให้ลูกค้าแม้ไม่เคยมาที่หน้าร้าน ไม่เคยได้เห็นสินค้าจริง ก็สามารถตัดสินใจซื้อและเป็นลูกค้าได้ไม่ยาก
ปีนี้พวกเราผ่านจุดคุ้มทุนของการใช้ทรัพยากรโลกไปแล้ว และอยู่ระหว่างการ “กู้” ทรัพยากรคนรุ่นหลังมาใช้ และหากธุรกิจยังคงใช้ทรัพยากรอย่างไม่คิด หรือร่วมรับผิดชอบต่อโลกและสิ่งแวดล้อมให้มากกว่านี้ โลกของเราจะเจ๊ง! ในอีก 80 ปีข้างหน้า
ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 8 ปีก่อน “ภูเก็ต” ยังเป็นหมุดหมายของนักท่องเที่ยวสาย Sea Sand Sun ทว่าวันนี้หลายคนไปเที่ยวภูเก็ตเพราะอยากเสพวิถีชีวิต เยี่ยมเยือน Phuket Old Town ภาพความเปลี่ยนแปลงนี้ มีชายชื่อ “มโนสิทธิ์ แจ้งจบ” เป็นหนึ่งคนอยู่เบื้องหลัง
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ทำไมแบรนด์เก่าแก่ถึงเริ่มล้มหายตายจาก ร้านที่เคยโด่งดังในอดีต วันนี้กลับร้างไร้ผู้คน และค่อยๆ ทยอยปิดตัวลงอย่างง่ายๆ แล้วอะไรคือ Game Changer ของ SME ยุคใหม่ มาฟังคำตอบจาก “ชาคริต เทียบเธียรรัตน์” MD คนใหม่แห่งเซ็นทรัลแล็บไทยกัน
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
“ยุ้งเกลือ” คือจุดแวะพักริมทางแห่งใหม่ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ที่ต่อยอดธุรกิจขึ้นมาจากพื้นที่ทำนาเกลือดั้งเดิมอายุร่วม 80 ปี ให้กลายเป็นร้านอาหารและเครื่องดื่มสุดชิก
ยุคนี้ผู้บริโภคหาข้อมูลจากหลายๆ ช่องทาง มิได้จำกัดอยู่แค่ Google เหมือนเช่นแต่ก่อน กว่าจะตัดสินใจซื้อสินค้าสักชิ้น ต้องค้นหาทั้ง Google, Facebook, Line, Youtube, Pantip ฯลฯ ทำให้ Customer Journey ยาวเป็นหางว่าว ครั้นจะให้ SME ที่มีงบประมาณจำกัด ไปหว่านเงินโฆษณารายทาง ก็คงจะไม่ใ..
เขาว่าความสวยรอไม่ได้ แม้ในวิกฤตไวรัสแต่ใครล่ะจะอยากหยุดสวย ธุรกิจความงามเลยยังคงอยู่รอดและไปต่อได้แม้ในสถานการณ์โควิด-19
แม้สินค้าจะผลิตออกมาดีเพียงใด แต่รู้ไหมว่าการวาง Brand Positioning หรือตำแหน่งแบรนด์ผิดที่นั้น สามารถสร้างความเสียหายให้กับแบรนด์ได้จนเกือบเจ๊งเลยทีเดียว เรื่องนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้วกับ “Ray-Ban” แบรนด์แว่นสุดคลาสสิกที่มีอายุกว่า 80 ปี
ในบางครั้งการมาถึงของวิกฤตอาจทำให้บางธุรกิจถึงคราวล่มสลาย แต่ขณะเดียวกันก็ทำให้ธุรกิจที่ดิ้นรนต่อสู้ ได้ค้นพบหนทางสว่างที่เหมือนได้เกิดใหม่อีกครั้ง เช่นเดียวกับ “นกฟินิกซ์” ที่ก่อเกิดจากเถ้าถ่าน กลายเป็นธุรกิจที่สดใหม่และไฉไลยิ่งกว่าเก่า