ในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การออกงานแฟร์ที่เป็นลักษณะเสมือนจริง หรือ Virtual Trade Fair กลายเป็นทางออกและคำตอบ ที่สำคัญยังสามารถแก้ปัญหา “ได้ไม่คุ้มเสีย” ที่ SME เคยเผชิญมาในอดีตอีกด้วย
การทำการตลาดบนโลกดิจิทัลในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ใช่แค่การทำเนื้อหาดีหรือลงทุนลงโฆษณาไปในหลายๆ แพลตฟอร์มเท่านั้นเพราะบางครั้งลงทุน ลงแรงไปมากมายแต่ยอดขายที่ได้มากลับไม่คุ้มค่า
ทำไมแบรนด์เก่าแก่ถึงเริ่มล้มหายตายจาก ร้านที่เคยโด่งดังในอดีต วันนี้กลับร้างไร้ผู้คน และค่อยๆ ทยอยปิดตัวลงอย่างง่ายๆ แล้วอะไรคือ Game Changer ของ SME ยุคใหม่ มาฟังคำตอบจาก “ชาคริต เทียบเธียรรัตน์” MD คนใหม่แห่งเซ็นทรัลแล็บไทยกัน
หลังจากการระบาดของโควิด-19 ที่คนออกจากบ้านไปช้อป ชิม ท่องเที่ยว หรือกระทั่งทำงานนอกบ้านไม่ได้ เราจึงต้องทำทุกอย่างผ่าน “หน้าจอ” ธุรกิจต่างๆ หันมานำเสนอประสบการณ์ “เสมือนจริง” (Virtual Reality) ให้กับคนที่ต้องติดอยู่ที่บ้าน
ความนิยมของร้านอาหารเสมือนจริง (Virtual Restaurant) หรือร้านที่ไม่ต้องมีหน้าร้านหรือโต๊ะสำหรับคนเข้ามานั่งรับประทานในร้านกำลังเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่จำเป็นมีแค่พื้นที่ห้องครัวและแอปพลิเคชันส่งอาหาร
การควบรวมกิจการ หรือที่เรียกกันว่า M&A (Mergers & Acquisitions) คือ การซื้อหุ้น สินทรัพย์ หรืออื่นๆ เพื่อให้ได้อำนาจควบคุม ครอบครองกิจการ ซึ่งปัจจุบันหลายบริษัททั่วโลกเดินหน้าขยายธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศผ่านการควบรวมกิจการกันมากขึ้น M&A ทวีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐก..
จากผักกาดดองในโอ่ง ส่งขายตลาดนัด ยกระดับมามีโรงงานมาตรฐานถึง 2 โรงงาน ทำผลิตภัณฑ์ทุกเกรด ครอบคลุมทุกกลุ่ม ส่งขายทั้งในไทยและส่งออกไปตลาดโลก นี่คือแบรนด์ “ตราแม่บ้าน” ของดีจากจังหวัดราชบุรี
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ท่ามกลางวิกฤตไวรัสโควิด-19 การค้าชายแดนและผ่านแดนไทยมีมูลค่า 209,231 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 10.6 (YoY) โดยการส่งออกอาหารสด ผักและผลไม้หดตัวสูงร้อยละ 38.1 (YoY) เนื่องจากอ่อนไหวด้านระยะเวลาขนส่งอย่างมาก ขณะที่อาหารแปรรูปยังขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (YoY)
ทันทีที่เกิดสถานการณ์โควิด-19 หลายสิ่งต้องหยุดชะงัก แต่ผู้คนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า นี่อาจเป็นโอกาสที่ดี ให้ SME ได้ใช้เวลาไปกับการเรียนรู้
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ตามมาด้วยมาตรการ Lockdown ของหลายประเทศทั่วโลก ส่งผลถึงภาคการส่งออกของไทยที่หดตัวลงอย่างต่อเนื่อง