จากสถานการณ์โควิด-19 ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจต้องเจอปัญหาและอุปสรรคต่างๆ นานา ซึ่งทำให้บางธุรกิจก็ปิดตัวลงไปบ้าง เราเชื่อว่าการที่จะทำให้ธุรกิจอยู่รอดทุกยุคสมัยเป็นเรื่องที่ยาก แต่ก็มีธุรกิจที่ยังคงอยู่รอดมาได้จนถึงทุกวันนี้
สำหรับคนที่สร้างหรือซื้อบ้านใหม่ การซื้อของใช้ เช่น อุปกรณ์ใช้งานในครัว หรือบรรดาสุขภัณฑ์ในห้องน้ำดูจะเป็นความเสี่ยงอย่างหนึ่งเพราะไม่แน่ใจว่าติดตั้งแล้วจะใช้งานได้ตามที่คาดหวังหรือไม่
เกือบ 2 ปีที่คนไทยอยู่กับคำว่า โควิด 19 แต่ชีวิตต้อง Move on แต่ถ้าหากวันนี้สถิติยังขึ้นๆ ลงๆ ยังไปไหนไกลไม่ได้ “แบรนด์” จึงต้องวางกลยุทธ์การตลาดล่วงหน้า การปล่อยอาวุธเพื่อ สร้างยอดขาย จึงตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและสร้าง Customer Journey ที่นอกกรอบจากแบบเดิมๆ
การทำฟาร์มเลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา เลี้ยงหอย หรือสัตว์น้ำอื่น ๆ อาจไม่ใช่เรื่องแปลก ที่ผ่านมา เคยมีใครได้ฟังหรือได้ยินเกี่ยวกับการทำฟาร์มเพาะปลาหมึก (ซึ่งไม่ใช่ปลา) หรือไม่ แน่นอนว่ามันไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
ในปัจจุบันใครๆ ก็ขายออนไลน์ ทำให้มีร้านค้าออนไลน์เกิดขึ้นมากมายหลากหลายช่องทาง ในเมื่อมีร้านเกิดขึ้นเยอะก็ต้องมีคู่แข่งเยอะด้วยเช่นกัน ซึ่งทำให้เกิดการแข่งขันที่ไม่มีที่สิ้นสุด
ลูกค้า 1 คน ไม่ได้แปลว่าต้องซื้อของแค่เพียง 1 อย่างเสมอไป ลูกค้าเก่าที่มีอยู่ในมือบางครั้งก็สามารถกลายเป็นลูกค้าใหม่ที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจได้ โดยไม่จำเป็นต้องแสวงหาลูกค้ากลุ่มใหม่อยู่ตลอดเวลา
เห็นช่วงนี้กระแสหนังเรื่อง “ร่างทรง” กำลังมาแรง อดสงสัยไม่ได้ว่าเหตุใดความเชื่อเหล่านี้จึงยังคงอยู่ ทั้งที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ จากที่ได้ลองวิเคราะห์พบว่ามีหลายข้อน่าสนใจและน่าลองนำมาปรับใช้กับกลยุทธ์การตลาดได้ มีอะไรบ้างลองไปดู
หลี่ เจียฉี อินฟลูเอนเซอร์ระดับท้อปของจีนวัย 29 ปี เจ้าของฉายา “Lipstick Brother” หรือราชันแห่งลิปสติก ใช่แล้ว! ราชัน ไม่ใช่ราชินี อย่างที่หลายคนคุ้นเคย ล่าสุดเพิ่งไลฟ์สดนาน 12 ชั่วโมงบนแพลทฟอร์มเถาเป่า รับเทศกาล “วันคนโสด”
พิมรี่พาย-พิมรดาภรณ์ เบญจวัฒนะพัชร์ คือชื่อของผู้หญิงที่ตั้งตัวได้จาการขายของออนไลน์ ที่ต้องบอกว่าไม่ใช่แค่ขายได้แต่เรียกว่าขายดีมาก จากสถิติยอดขายสูงสุดที่เธอทำได้คือ 10 ล้านชิ้น
กระแสชาตินิยมของจีนประทุขึ้นมาอีกระลอกช่วงเกิดวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ที่มณฑลเหอหนานช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และ“เออร์เก้” (ERKE) ที่ล้มลุกคลุกคลานและประสบอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจมาตลอดกลับมอบเงินบริจาคถึง 50 ล้านหยวน
การกักตัวอยู่ที่บ้านนานๆ ทำให้ประชาชนเกิดความเบื่อหน่ายจึงเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์หรือตกแต่งบ้านใหม่เพื่อสร้างบรรยากาศไม่ให้จำเจ IKEA จึงออกแคมเปญ Buy Back รับซื้อสินค้าใช้แล้วจากลูกค้ามาขายต่อ ที่กลายเป็นว่าแบรนด์ได้รับผลประโยชน์หลายต่อเลยทีเดียว
“ISTORY” จำหน่ายเสื้อและกระเป๋าผ้าที่มีดีไซน์เป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร โดยเสื้อแต่ละตัวจะติด elbow patches หรือแผ่นผ้ารองข้อศอกที่ออกแบบมาทั้งหมด 9 ลวดลาย และแต่ละลวดลายบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผู้แปรพักตร์เกาหลีเหนือแต่ละคน