หนึ่งในโมเดลที่หลายคนให้ความสนใจในการขยายธุรกิจคือ การแปลงธุรกิจของตัวเองให้กลายเป็น “แฟรนไชส์” แต่หลายคนอาจสงสัยว่า การทำธุรกิจให้เป็นแฟรนไชส์ ต้องทำอย่างไร?
ในปัจจุบันพบว่าประชากรทั่วโลกทานอาหารเค็มกันเพิ่มมากขึ้น ทำให้หลายประเทศได้มีการวางเป้าหมายการลดเกลือในอาหารแปรรูปทั่วไป
ถึงแม้ว่ากระแสชานมไข่มุกในปัจจุบันจะเบาลงและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปบ้าง แต่ธุรกิจชานมไข่มุกรายใหญ่ๆ ก็ยังคงเติบโตกันอย่างต่อเนื่อง
ป็นเรื่องที่น่ายินดี ที่เห็นผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยประสบความสำเร็จในเวทีระดับโลกได้อย่าง “Kan Vela Craft Chocolate” แบรนด์ช็อกโกแลตไทยแบรนด์แรกที่ไปคว้ารางวัลจากต่างประเทศมาถึง 11 รางวัลเลยทีเดียว
เรียกว่ากลายเป็นเมนูทอล์คออฟเดอะทาวน์ไปแล้ว สำหรับ “ข้าวเหนียวมะม่วง”ที่ตอนนี้ไม่ว่าหน้าฟีดเฟซบุ๊ก หรือโซเชียลมีเดียไหนๆ ก็มีให้เห็นอยู่เต็มไปหมด ซึ่งไม่ใช่เฉพาะจากกระแสของ "มิลลิ" แร็ปเปอร์สาวไทยที่กินข้าวเหนียวมะม่วงโชว์บนเวทีคอนเสิร์ต Coachella 2022 เท่านั้น
บนโลกใบนี้มีอาชีพที่หลากหลายมาก บางอาชีพมันดูเหมือนเป็นไปไม่ได้ วันนี้ทาง SME THAILAND ONLINE ก็ไปเจออีกหนึ่งอาชีพใหม่มา ก็คืออาชีพรับจ้างตั้งชื่อเด็กทารกนั้นเอง และสิ่งที่น่าตกใจมากไปกว่านั้นก็คืออาชีพนี้สามารถทำเงินได้สูงสุด 3 แสนบาทต่อการตั้งชื่อเด็กหนึ่งชื่อ
หากเป็นแถบเอเชีย อาจไม่ใช่เรื่องแปลกที่ผู้คนจะแสวงหาที่ยึดเหนี่ยว หรือความมั่นใจในการตัดสินใจกระทำการใด ๆ โดยการปรึกษา “ผู้หยั่งรู้” ที่มาในรูปแบบต่าง ๆ แต่ถ้าเป็นฝั่งตะวันตกอย่างยุโรปหรืออเมริกา อาชีพแบบนี้อาจไม่แพร่หลายแต่ก็ใช่ว่าจะไม่มี วันนี้เลยจะพาไปรู้จักแคนดิส พิตต์ สาวอเมริกันวัย 33 ปีผู้ทิ้งงานประจำในตำแหน่งฝ่ายขายเพื่อมาเปิด “The Royal Shaman”
จากธุรกิจกงสี 70 ปีร้านบะหมี่แป๊ะสุน ต่อยอดสร้างรายได้บน YouTube คุณพ่อเป็นนักแสดง คุณลูกเป็นตากล้อง
ถ้าใครอยู่ละแวกชลบุรีคงไม่มีใครไม่รู้จักร้านบะหมี่ “แป๊ะสุน” ยึดทำเลในตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตลาดใหญ่ จ. ชลบุรี เปิดขายมากว่า 70 ปี ที่ไม่เพียงเป็นตำนานทำแป้งแบบนวดมือเจ้าเดียวในชลบุรี แต่ยังต่อยอดธุรกิจกงสีให้เข้ากับยุคสมัยผ่านช่องทาง YouTube
“ฉิบหายไม่ว่าเอาหน้าไว้ก่อน” ประโยคแรงที่เพื่อนสนิทมักใช้แซว ทิวาพร เสกตระกูล หรือครูเอ๋ เจ้าของแบรนด์ เทวาภิรมย์ น้ำปรุงไทยตำรับชาววัง
หากพูดถึงเทรนด์แฟชั่นซึ่งกำลังเป็นที่สนใจอย่างต่อเนื่องไม่มีแผ่วก็เห็นจะต้องยกให้เป็นเทรนด์ของ Upcycling Fashion ซึ่งเป็นแนวคิดการดัดแปลงเสื้อผ้า สิ่งทอหรือกระทั่งวัสดุที่ไม่ใช้ได้แล้วให้กลายเป็นเสื้อผ้าชิ้นใหม่
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
ใครจะคิดว่าวันหนึ่งมนุษย์ออฟฟิศกว่าค่อนโลกจะพร้อมใจกัน work from home โดยไม่ได้นัดหมาย ยังไม่นับรวมเหตุการณ์อื่นๆ อีกมากมาย อาทิ สายการบินต้องหยุดให้บริการ ร้านอาหารไม่สามารถให้คนมานั่งทานที่ร้านได้ การขนส่งของกลายเป็นธุรกิจเฟื่องฟุ สิ่งเหล่านี้คือ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแบบฉับพลันในโลกยุคใหม่ผู้ที่ปรับตัวไม่ทันบางคนถึงกับต้องล้มเลิกกิจการ