SFTS คือ แบรนด์ที่นำเหล่าขยะจากทะเล อาทิ อวน ลูกทุ่น เชือก รองเท้าแตะ เหยื่อตกปลาพลาสติก ฯลฯ มาใช้ผลิตเป็นกระเป๋าสุดยูนีค มีใบเดียวในโลก
เจาะเทคนิค ดลชัย บุณยะรัตเวช พลิกมรดกกว่าร้อยปี “บ้านยาหอม” สู่ธุรกิจร่วมสมัย สูตรที่ SME นำไปใช้ได้
บ้านไม้สักเก่าอายุกว่าร้อยปี แถมปิดร้างมานานกว่า 20 ปี ได้รับการพลิกฟื้นขึ้นมาใหม่ภายใต้ชื่อ “บ้านยาหอม” โดยฝีมือของ ดลชัย บุณยะรัตเวช ทายาทของตระกูลรุ่นที่ 5
“Customer” คือ กลุ่มลูกค้าทั่วไปในหลักการตลาด แต่ “Petsumer” คือ กลยุทธ์การตลาดที่ถูกนิยามขึ้นมาใหม่สำหรับกลุ่มลูกค้าคนรักสัตว์เลี้ยง ที่มีความต้องการพิเศษเฉพาะ
กว่า 52 ล้านคน คือ จำนวนคนไทยที่เชื่อเรื่องความมู ตั้งแต่แบรนด์เล็กไล่ถึงแบรนด์ใหญ่จึงให้ความสนใจตลาดสายมู เพราะแค่ 10% ของตลาดนี้ก็ 5 ล้านกว่าคนแล้ว ถ้าแบรนด์หรือธุรกิจสนใจตลาดนี้จะทำอย่างไรให้แบรนด์ปัง สามารถบาลานซ์ระหว่าง ความมู ไม่ให้ดูเป็นเรื่องงมงาย แต่ได้ยอดขายเพิ่ม
เมื่อเราอยู่ในยุคอีคอมเมิร์ซที่การค้าขายออนไลน์กำลังรุ่งเรืองอยู่ในตอนนี้ วันนี้เราเลยจะพาทุกคนไปรู้ว่าสินค้าที่มีแนวโน้มขายดีในปี 2023 มีสินค้าอะไรบ้าง ตามมาดูกันเลย
ถ้าวันหนึ่งคุณคือผู้ที่ถูกชะตาฟ้าลิขิตให้ต้องรับไม้ต่อกิจการที่บ้าน และยังไม่พร้อมหรือยังไม่เจอหนทางที่จะต่อยอดธุรกิจครอบครัวให้รุ่งโรจน์ นี่คือ บทเรียนทางลัดจากทายาทธุรกิจที่ผ่านร้อนผ่านหนาว บางคนเจ๊งมาก่อนจะเจ๋ง แต่ในที่สุดพวกเขาก็พบกับคำว่า “สำเร็จ” ที่ SME Thailand Online ได้รวบรวมไว้เป็นทางลัดได้ศึกษากัน
ในวงการแฟชั่น หาก ZARA ถูกจัดให้เป็นแบรนด์ฟาสต์แฟชั่นในหมวดเสื้อผ้าอันดับต้นๆ CHARLES & KEITH เองก็เรียกได้ว่าเป็นแบรนด์แฟชั่นเสิร์ฟด่วนในผลิตภัณฑ์รองเท้า อะไร คือ กลยุทธ์ความหรูหราที่จ่ายได้ ไปดูกัน
“อาชีพทำกระเป๋า ต้องเป็นอาชีพสุดท้ายเท่านั้น” ปณิธานของ สิทธิเดช ถนิตฤทธิพร หนึ่งในสามพี่น้องเจ้าของ Tara Leather หนึ่งในธุรกิจเครื่องหนังเอ็กโซติกกว่า 4 ทศวรรษ ที่ผ่านช่วงวิกฤติต่างๆ มาได้ ภายใต้ความเจ็บปวดเขาค้นพบบทเรียนสำคัญเป็นโอกาสให้ธุรกิจของครอบครัวอยู่รอดต่อไปได้
จากกระแส Fast Fashion ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย รู้ไหมการผลิตผ้า 1 ตัว ต้องใช้น้ำมากถึง 2,700 ลิตร ! วันนี้เลยอยากแนะนำ 3 พิกัดโรงงานผลิตผ้าจากวัสดุรีไซเคิล เพื่อช่วยรักษ์โลกกัน
หลายคนอาจจะรู้จักหรือแม้กระทั่งเคยควักสตางค์ซื้อรองเท้าแตะฟองน้ำยี่ห้อ havaianas มาใส่ เคยสงสัยไหมว่า ทำไมรองเท้าแตะที่ดูเหมือนธรรมดาๆ ราคาจึงสูงถึงคู่ละหลายร้อยไปจนถึงหลักพันบาทได้
จริงๆ แล้วทั้งกล่องสุ่มและโอมากาเสะ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นของทั้งสองเรื่อง ล้วนแต่มีประเด็นที่น่าคิดในมุมของการตลาด
หากว่าด้วยทฤษฎีด้านจิตวิทยาในการตัดสินใจซื้อ ถึงแม้ว่าจุดเริ่มในการมองหาสินค้า มาจาก ‘Functional’ หรือ การใช้เหตุผลในการซื้อจากคุณสมบัติของสินค้า แต่สุดท้าย Moment ในการซื้อ มักจะจบที่ Emotional ล้วนๆ