ผู้ประกอบการเชียงคานได้ร่วมกันจัดทำโปรเจกต์ “เชียงคาน สบายใจ” ขึ้นมา เพื่อช่วยป้องกันและต่อสู้กับโรคระบาดอย่างไวรัสโควิด-19 ในยามที่ไร้เงาจากนักท่องเที่ยว แถมยังต้องรับมือกับไวรัสร้ายที่มาเยือนถึงตัว
สถานการณ์การระบาดสร้างความเสียหายให้กับธุรกิจ แต่อย่าเอาแต่โฟกัสไปที่ผลกระทบด้านลบที่โควิด-19 มี เรามาเรียนรู้บทเรียนที่แบรนด์ต่างๆ สามารถเรียนรู้ได้จากวิกฤตครั้งนี้กัน
ยุคนี้จะทำไข่เค็มธรรมดาได้ที่ไหน ถ้าอยากขายดีขายรุ่งในยุคโควิดก็ต้องรู้จัก “คิดต่าง” และใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วย นี่คือ ไข่แดงเค็มผงสำเร็จรูปพร้อมปรุง และผงปรุงรสไข่เค็ม ที่กลายเป็นทางเลือกความอร่อยของยุคใหม่
การดำเนินธุรกิจมีเป็นล้านวิธี แต่วิธีที่นำไปสู่ความสำเร็จได้เร็วที่สุดในยุคนี้ คือวิธีแบบ Startup ถึงเวลาต้องเปิดกว้าง และเรียนรู้กลยุทธ์ที่บริษัทรุ่นใหม่เหล่านี้คิดขึ้น หากมัวแต่ยึดติดของเก่า ไม่เอาของใหม่มาประยุกต์ ในไม่ช้าก็จะตามธุรกิจใหม่ๆ ไม่ทันเอา
เทคนิคมัดใจลูกค้าไม่ให้หลุดมือ ในวันที่ธุรกิจต้องรักษาระยะห่าง ด้วยการสร้างประสบการณ์ที่ใช่บนออนไลน์
ในวันที่สถานการณ์โควิดระลอกใหม่ ทำให้ คำว่า “เว้นระยะห่าง” สกัดกั้น SME ให้ไม่สามารถใกล้ชิดลูกค้าได้เหมือนเก่า ถึงเวลางัด 4 เทคนิค ตัวช่วยเสริมการบริการและสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า ในทุกที่ ทุกเวลา แม้ต้องสื่อสารกันระยะไกล
จากการทำธุรกิจไอศกรีมแบบ B2B ให้กับโรงแรมและร้านอาหารต่างๆ มานานกว่า 8 ปี แต่หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 กลายเป็นที่มาของโมเดลธุรกิจใหม่ สร้างอีกหนึ่งประสบการณ์ทางเลือกของการสั่งซื้อไอศกรีมมารับประทานที่บ้าน ภายใต้ชื่อแบรนด์ “Molto Premium Gelato”
ในสมัยก่อนโรงแรมส่วนใหญ่จะใช้การขายตรงผ่านโบรชัวร์ที่นำไปแจกให้กับ Agency หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นหลัก แต่ทว่าเมื่อเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสผู้บริโภคเปลี่ยนมีการถามถึงเว็บไซต์ของโรงแรมมากขึ้น จึงได้เวลาปรับหน้าเว็บโรงแรมสู่ OTA
AggieHome” (แอ็กกี้โฮม) ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรและเครื่องมือช่างและทำยอดขายปังอยู่บนแพลตฟอร์มออนไลน์ มีรายได้หลักร้อยล้านบาทต่อปี ร้านที่เริ่มต้นจากความไม่รู้ แต่เลือกเรียนรู้และลงมือทำจนประสบความสำเร็จ
ถ้าแบรนด์ของเรามีผู้ติดตาม (Followers) ในโซเชียลมีเดียรวมกันนับแสนคน ต้องบอกว่านั่นคือเรื่องที่น่าดีใจจริงๆ แต่ถ้าเราเปลี่ยนผู้ติดตามเป็นลูกค้าไม่ได้ หรือขยายยอดขายจากผู้ติดตามที่มีอยู่ไม่ได้ ก็ต้องบอกว่าไม่ใช่เรื่องที่ดีเท่าไหร่นัก
“ตงศิริฟาร์ม” (TongSiri Farm) ฟาร์มเกษตรแบบผสมผสาน ที่มีทั้งผืนนา พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และทำสวน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และตั้งอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นหลัก
สำหรับธุรกิจขนาดเล็กหรือขาดหลักทรัพย์ที่จะมาค้ำประกัน โอกาสที่จะได้รับเงินกู้จากธนาคารจะมีน้อยลง ทำให้เกิดเครื่องมือเสริมสภาพคล่องรูปแบบใหม่นั่นคือ Debt Crowdfunding ที่ ก.ล.ต. อนุญาตให้ SME ออกหุ้นกู้และสามารถเสนอขายให้กับบุคคลทั่วไปได้
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส