ซีรีส์ Hometown Cha-Cha-Cha แม้เนื้อเรื่องจะดูธรรมดาแต่รายละเอียดไม่ธรรมดาเลยทีเดียวจึงรวบรวมแง่คิดธุรกิจดีๆ ที่ได้จากซีรีส์เรื่องนี้มาแบ่งปันกัน
ปี 2564 กำลังจะจบลงและเริ่มต้นปี 2565 พร้อมกับความคาดหวังสถานการณ์ทางธุรกิจที่ดีขึ้น บอกได้เลยว่า ถ้าคุณอยู่ใน 7 ธุรกิจเตรียมดีใจได้เลย เพราะนี่เป็นธุรกิจที่ผู้บริโภคมองหา และมีแนวโน้มจะเติบโตได้ดีในปี 2565 และอีกหลายปีต่อจากนี้
ไทยในฐานะผู้นำด้านอุตสาหกรรมอาหารของโลกยังมีโอกาสที่จะเพิ่มมูลค่าและผลักดันอุตสาหกรรมนี้ให้เติบโตขึ้นได้ NIA จึงได้วิเคราะห์โอกาสการเติบโตของการพัฒนาเทคโนโลยีเชิงลึกในธุรกิจอาหารใน 9 รูปแบบ
ใครจะคิดว่าร้านขนมครกใบเตย ที่เคยขายอยู่หน้าร้านสุกี้ดัง ตรงสยามสแควร์ และเป็นตำนานความอร่อยมานานกว่า 45 ปี วันหนึ่งจะกลายเป็นแบรนด์ขึ้นห้างฯ ยกระดับตัวเองสู่ “ร้านขนมสยาม” (KANOM SIAM) เจ้าของเมนูดัง “ขนมครกใบเตยผสมกัญชา” ในวันนี้ได้
ยุคนี้จะทำไข่เค็มธรรมดาได้ที่ไหน ถ้าอยากขายดีขายรุ่งในยุคโควิดก็ต้องรู้จัก “คิดต่าง” และใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วย นี่คือ ไข่แดงเค็มผงสำเร็จรูปพร้อมปรุง และผงปรุงรสไข่เค็ม ที่กลายเป็นทางเลือกความอร่อยของยุคใหม่
ในโลกนี้มีพลเมืองที่แพ้กลูเตนมากถึง 600-700 ล้านคน นั่นเป็นโอกาสธุรกิจของ “Sava Flour” แป้งกลูเตนฟรีสำหรับผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ที่ทำจากมันสำปะหลัง จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากแป้งมันธรรมดาได้สูงถึง 8 เท่า แค่ 1 พาเลท ก็กำไรเท่า 1 ตู้คอนเทนเนอร์
พวกเขาไม่ใช่ชาวสวนธรรมดาๆ แต่เป็นคนทำสวนผลไม้เกรดพรีเมียมที่ลุกมาทำสินค้านวัตกรรม “Juice Ball” เจลบอลน้ำผลไม้ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ผลิตจากสารสกัดจากสาหร่าย จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ถึง 4 เท่า
“น้ำพริกส็อก” By Chef May ตัวอย่างนวัตกรรรมความอร่อยในหนึ่งซอง ที่แกะไปจิ้มผักกินคู่กับหมูทอด-ไก่ทอดและข้าวเหนียว หรือจะพลิกแพลงไปแทน “โคชูจัง” ซอสพริกแบบเกาหลี ทำซุปกิมจิก็ยังได้
หลายคนอยากกระโดดเข้าสู่วงการ Food Tech แต่ถนนเส้นนี้ไม่ง่าย! มาฟัง บมจ. ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป คุยเรื่องอาหารแห่งอนาคตและโอกาสของผู้ประกอบการไทย ตลอดจนการทำงานร่วมกัน เพื่อร่วมขับเคลื่อนนวัตกรรมอาหารไทยสู่ตลาดโลก
ไอติมหวานเย็นในหลอดใส ใช้ชื่อแบรนด์ว่า “ฟรีซช็อต” ชูจุดต่างด้วยการเป็น สมูทตี้ที่ไม่ต้องปั่น นวัตกรรมความอร่อยโดนใจเด็กๆ เปิดตัวครั้งแรกด้วยการขายได้เกือบหมื่นหลอดในเวลาเพียง 4-5 วัน และยังคว้ารางวัลนวัตกรรมระดับประเทศมาแล้ว
อดีตเด็กนอกที่ไปเรียนและทำงานอยู่ประเทศอังกฤษมาประมาณ 7 ปี วันนี้เธอกลับบ้านเกิดที่ จ.พัทลุง เพื่อต่อยอดธุรกิจผลิตกะปิของครอบครัวที่ทำมาหลายสิบปี สู่นวัตกรรมซอสกะปิและน้ำปลาหวาน ในชื่อแบรนด์ “เคยนิคะ”
“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค