จากการต้องเตรียมตัวเป็นคุณแม่ของ วรพร มุสิกบุตร (โจ) และวรฤดี มุสิกบุตร (โจ้) สองพี่น้องฝาแฝดที่บังเอิญตั้งครรภ์พร้อมๆ กัน จนเกิดเป็นนวัตกรรมเบาะนอนสำหรับทารกเพื่อช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคไหลตายเด็กได้เป็นเจ้าแรกและเจ้าเดียวในไทย
จากการทำธุรกิจไอศกรีมแบบ B2B ให้กับโรงแรมและร้านอาหารต่างๆ มานานกว่า 8 ปี แต่หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 กลายเป็นที่มาของโมเดลธุรกิจใหม่ สร้างอีกหนึ่งประสบการณ์ทางเลือกของการสั่งซื้อไอศกรีมมารับประทานที่บ้าน ภายใต้ชื่อแบรนด์ “Molto Premium Gelato”
ในสมัยก่อนโรงแรมส่วนใหญ่จะใช้การขายตรงผ่านโบรชัวร์ที่นำไปแจกให้กับ Agency หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นหลัก แต่ทว่าเมื่อเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสผู้บริโภคเปลี่ยนมีการถามถึงเว็บไซต์ของโรงแรมมากขึ้น จึงได้เวลาปรับหน้าเว็บโรงแรมสู่ OTA
ในวันที่ประเทศไทยยังมีโรงงานผลิตกระจกนิรภัยเทมเปอร์ อยู่แค่ไม่กี่โรง “เอสอาร์ แอดวานซ์อินดัสตรีส์” ได้ถือกำเนิดขึ้น วันนี้คู่แข่งในสนามเพิ่มขึ้นเท่าทวี พวกเขาจึงรุกตลาดกระจกนิรภัยรถยนต์ เพื่อทำเรื่องยาก สร้างของใหม่ เล่นในตลาดที่คู่แข่งน้อย
ในทุกๆ ปี 1 ใน 3 ของอาหารทั้งหมดที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการบริโภคของมนุษย์ต้องถูกทิ้งไป มีหลายวิธีที่จะลดปริมาณขยะอาหารได้ แต่ถ้าใส่ความคิดสร้างสรรค์ลงไปด้วยล่ะก็ สิ่งที่เคยเป็นขยะที่ต้องทิ้งก็จะกลายเป็นโอกาสธุรกิจและทำกำไรได้อีกต่างหาก
BPC Banking Technologies องค์กรที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเงินในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ระบุถึงแนวโน้มของรูปแบบการชำระเงินที่ผู้ประกอบการควรเตรียมพร้อมรับมือให้ทันในปี 2021
AggieHome” (แอ็กกี้โฮม) ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรและเครื่องมือช่างและทำยอดขายปังอยู่บนแพลตฟอร์มออนไลน์ มีรายได้หลักร้อยล้านบาทต่อปี ร้านที่เริ่มต้นจากความไม่รู้ แต่เลือกเรียนรู้และลงมือทำจนประสบความสำเร็จ
ถ้าแบรนด์ของเรามีผู้ติดตาม (Followers) ในโซเชียลมีเดียรวมกันนับแสนคน ต้องบอกว่านั่นคือเรื่องที่น่าดีใจจริงๆ แต่ถ้าเราเปลี่ยนผู้ติดตามเป็นลูกค้าไม่ได้ หรือขยายยอดขายจากผู้ติดตามที่มีอยู่ไม่ได้ ก็ต้องบอกว่าไม่ใช่เรื่องที่ดีเท่าไหร่นัก
“ตงศิริฟาร์ม” (TongSiri Farm) ฟาร์มเกษตรแบบผสมผสาน ที่มีทั้งผืนนา พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และทำสวน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และตั้งอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นหลัก
เมื่อ Eco Shop ของ นุ่น –ศิรพันธ์ และ ท็อป – พิพัฒน์ ได้พี่เลี้ยงเป็นถึงกรูรูธุรกิจมืออาชีพอย่าง Divana จนเกิดเป็นโปรเจกต์ร่วมกันขึ้นมาภายใต้ชื่อแบรนด์ “Divana Urban Forest” ผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในบ้านที่ใส่ใจทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และสิ่งแวดล้อม
ผู้หญิงคนหนึ่งเดินหิ้วโครงไม้ลามิเนตไปบุกบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังอย่าง “แสนสิริ” เพื่อนำเสนอขายสินค้า โดยที่บริษัทพึ่งตั้ง ประสบการณ์ทำงานเท่ากับศูนย์ และมีสินค้าทั้งบริษัทแค่ 1 ตัวเท่านั้นก็คือ “พื้นไม้ลามิเนต” แต่เธอขายงานได้!
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส