สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลามายาวนานร่วม 3 ปี ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้เห็นผู้ประกอบการ SME หลายรายยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ บทเรียนเหล่านั้นนับเป็นองค์ความรู้ ถือเป็น “วัคซีน” สำคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจในการปรับตัวได้ ลองไปดูวิธีปรับตัวเหล่านั้นกัน
ใครจะคิดว่าวันหนึ่งมนุษย์ออฟฟิศกว่าค่อนโลกจะพร้อมใจกัน work from home โดยไม่ได้นัดหมาย ยังไม่นับรวมเหตุการณ์อื่นๆ อีกมากมาย อาทิ สายการบินต้องหยุดให้บริการ ร้านอาหารไม่สามารถให้คนมานั่งทานที่ร้านได้ การขนส่งของกลายเป็นธุรกิจเฟื่องฟุ สิ่งเหล่านี้คือ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแบบฉับพลันในโลกยุคใหม่ผู้ที่ปรับตัวไม่ทันบางคนถึงกับต้องล้มเลิกกิจการ
นอกจากวิกฤตจากรายได้ที่ลดน้อยลง เพราะพิษโควิด-19 เหมือนอย่างเช่นที่ผ่านมาแล้ว สิ่งสำคัญอีกอย่างที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องเฝ้าระวังให้มาก ก็คือ สงครามการแข่งขัน โดยเฉพาะบนตลาดออนไลน์ที่ดุเดือดเข้มข้นขึ้นอย่างแน่นอน เพราะทุกคนต่างกระโจนเข้าสู่โลกอีคอมเมิร์ซด้วยกันทั้งนั้น ดังนั้นแล้วแบรนด์จะเอาตัวรอดให้ธุรกิจอยู่ต่อไปได้ยังไง
เวทีงานแสดงสินค้าในต่างประเทศอาจเป็นอีกหนึ่งโอกาสของการทำตลาดที่กว้างขึ้นและโตขึ้น แต่ทว่าก็ต้องแลกมาด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ในประเทศไทย ขาดสภาพคล่องทางการเงินอย่างมาก ซึ่งสาเหตุสำคัญมาจากสถานการณ์โควิด – 19
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม ได้มีนโยบายให้ความสำคัญกับการออกมาตรการเพื่อดูแลแรงงานและรักษาการจ้างงานในช่วงที่เศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
เค้กหอมมนต์ที่กำลังพุ่งทะยานสุดตัว ต้องสะดุดชั่วคราวเมื่อสถานการณ์โควิด มาเยือน และส่งผลต่อพฤติกรรมการจับจ่ายผู้บริโภค จากตลาดนัดมาเป็นโลกออนไลน์
กระทรวงแรงงานได้เปิดให้นายจ้าง/สถานประกอบการภาคเอกชนที่อยู่ในระบบประกันสังคม และมีลูกจ้างรวมทุกสาขาไม่เกิน 200 คน ให้มาลงทะเบียนเพื่อรับเงินเงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่านโครงการส่งเสริมและรักษาระดับการจ้างงานในธุรกิจ SME
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว
SME ที่พลาดโครงการจับคู่กู้เงินของกระทรวงพาณิชย์ในเฟสแรกไปไม่ต้องเสียใจ เพราะเขาต่อเฟส 2 ให้ในทันที ด้วยวงเงินไม่ต่ำกว่า 6,000 ล้านบาท
หากย้อนไปดูปี 2563 ซึ่งเป็นปีแรกของการแพร่ะระบาด ตัวเลขผลประกอบการของ SME มีอัตราลดลงถึง -9.1 เปอร์เซ็นต์ คำถามก็คือ แล้วสถานการณ์ปีนี้ล่ะ จะเป็นอย่างไร? นี่คือความเสี่ยงที่ SME ต้องเผชิญอย่างต่อเนื่องหลังจากนี้ 3 เรื่องหลักๆ