วงการธุรกิจการดูแลสุขภาพ (Healthcare) กำลังเผชิญความเปลี่ยนแปลงทางประชากร ทั้งในมุมของการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย และพฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ที่ใส่ใจสุขภาพมากขึ้นยิ่งผลักดันให้ธุรกิจ Healthcare มีแต่จะเติบโตมากขึ้น และนี่คือทิศทางของธุรกิจดูแลสุขภาพที่เราจะได้เห็นกัน
ร้านข้าวขาหมูในตำนานย่านดินแดง ที่รู้จักกันในชื่อ “ข้าวขาหมู พ.4” เสิร์ฟความอร่อยมานานกว่า 40 ปี วันนี้ทายาทรุ่น 2 เข้ามาพลิกโฉมร้านเก่าแก่ให้ทันสมัย พร้อมนำส่งประสบการณ์ใหม่ให้กับลูกค้า ผ่านเทคโนโลยีที่เติมเต็มทุกจุดปัญหา
อีก 10 ปีข้างหน้า ธุรกิจกำลังจะเจอกับความท้าทายครั้งใหม่ และไม่เคยพบเจอมาก่อนในทศวรรษก่อนหน้านี้ เมื่อประเทศไทยจะมีพลเมืองผู้สูงวัยมากถึงกว่า 40 เปอร์เซ็นต์! ปรากฏการณ์นี้จะส่งผลอย่างไรกับ SME มาหาคำตอบกัน
การมาถึงของทายาทรุ่น 3 กับภารกิจสืบสานแบรนด์เก่าแก่ที่ดำเนินกิจการมายาวนานกว่า 62 ปี ให้เป็นที่ต้องการและเข้าถึงคนรุ่นใหม่ คือความท้าทายสำคัญของการขับเคลื่อนธุรกิจครอบครัว
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ทำไมแบรนด์เก่าแก่ถึงเริ่มล้มหายตายจาก ร้านที่เคยโด่งดังในอดีต วันนี้กลับร้างไร้ผู้คน และค่อยๆ ทยอยปิดตัวลงอย่างง่ายๆ แล้วอะไรคือ Game Changer ของ SME ยุคใหม่ มาฟังคำตอบจาก “ชาคริต เทียบเธียรรัตน์” MD คนใหม่แห่งเซ็นทรัลแล็บไทยกัน
ลี อายุ จือปา เจ้าของแบรนด์ร้านกาแฟ ‘Akha Ama Coffee’ ที่เปิดตัวมานานกว่าสิบปี ใครจะคิดว่าวันนี้โจทย์ใหม่ในการทำธุรกิจของเขา คือ การตัดสินใจเปิดร้านกาแฟขึ้นที่ญี่ปุ่น เมืองที่มีผู้บริโภคกาแฟมากเป็นอันดับสามของโลก แถมต้องเจอกับวิกฤตโควิด-19 ที่เข้ามาพร้อมๆ กัน
ในแวดวงธุรกิจ เรารู้จัก “เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” ในฐานะกรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟาสเทคโน จำกัด เจ้าของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์แบรนด์ “Fasttech” (ฟาสเทค) ที่ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างโชกโชน เป็น SME นักสู้ที่ใครหลายคนคุ้นเคยดี
ถ้าพูดถึงแบรนด์ร้านไอศกรีมที่มีสาขาอยู่ทั่วประเทศในขณะนี้ หนึ่งในชื่ออันดับต้นๆ ที่หลายคนนึกถึงต้องมี “Swensen’s” ไอศกรีมแฟรนไชส์สัญชาติอเมริกันรวมอยู่ด้วยแน่นอน แต่รู้ไหมว่าที่มาของไอศกรีมแสนหวานนี้แท้จริงแล้วเกิดขึ้นมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
หลงใหลในตัวเลข ชื่นชอบคณิตศาสตร์ สนใจด้านการตลาด และชอบคิดอะไรต่างจากคนอื่น คือสิ่งที่นำพาให้ “อริสา กุลปิยะวาจา” ผู้ก่อตั้งแบรนด์ 137 ดีกรี ตัดสินใจไปศึกษาต่อด้าน Data Analytics และได้นำวิธีคิดแบบ Data Scientist มาใช้ในการดำเนินธุรกิจวันนี้
หลังจากการระบาดของโควิด-19 ที่คนออกจากบ้านไปช้อป ชิม ท่องเที่ยว หรือกระทั่งทำงานนอกบ้านไม่ได้ เราจึงต้องทำทุกอย่างผ่าน “หน้าจอ” ธุรกิจต่างๆ หันมานำเสนอประสบการณ์ “เสมือนจริง” (Virtual Reality) ให้กับคนที่ต้องติดอยู่ที่บ้าน
วัฒนธรรมการทำงานรูปแบบใหม่ถือกำเนิดขึ้นแล้ว เมื่อโลกมาถึงจุดเปลี่ยน งานประเภทเข้า 9 โมงเช้า เลิก 5 โมงเย็น สัปดาห์ละ 5 วัน อาจไม่มีอีกต่อไป การที่เราสามารถทำงานจากที่บ้านได้มากขึ้น ส่งผลต่อทัศนคติของผู้คนที่มีต่อวัฒนธรรมการทำงานในอนาคต