TMB Analytics ชี้จะรักษาการจ้างงานได้ SME ต้องรอด โมเดล “รายใหญ่ช่วยรายเล็ก” ช่วยปลดล็อกสภาพคล่องธุรกิจไหลเข้าเร็วขึ้น 1.1 หมื่นล้านบาทต่อวัน
ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าช่วยผู้ประกอบการท่องเที่ยว ฝ่าวิกฤตโควิด-19 จับมือ ททท. และ สทท. เปิดแพลตฟอร์มออนไลน์ www.SCBShopDeal.com รวมดีลเพื่อคนชอบเที่ยว ปลุกตลาดท่องเที่ยวไทยและ SME ให้สามารถปั๊มยอดขายได้ในช่วงวิกฤต
แค่ปรับตัวให้ไว ในวิกฤตก็สร้างโอกาสและความสำเร็จได้ เช่นเดียวกับแบรนด์ “ชีววิถี” ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพรที่อยู่ในตลาดมากว่า 14 ปี มีสินค้าจำหน่ายทั้งในไทยและต่างประเทศ ผู้พลิกวิกฤตโควิด-19 มาทำเจลแอลกอฮอล์สนองตลาดได้อย่างทันยุค
ความท้าทายของการทำธุรกิจในยุคไวรัสระบาด คือการประคองตัวให้รอดท่ามกลางภาวะวิกฤต ผู้บริโภคกักตัว ไม่ใช้จ่าย แต่ถ้าคุณเข้าใจพวกเขา รู้ว่าพวกเขาต้องการอะไรในช่วงวิกฤต คุณก็สามารถพลิกวิกฤตเป็นโอกาสในยามยากได้!
สิ่งสำคัญที่สุดในวันที่ธุรกิจต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต คือ เงินสด โดยผู้ประกอบการทุกคนรู้ว่าตัวเองมีเงินอยู่ในมือเท่าไร แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเงินที่มีอยู่ในบัญชีนั้นจะทำให้ธุรกิจอยู่ได้นานแค่ไหน ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่มีรายได้เข้ามาเลย จนทำให้ตั้งรับกับเหตุการณ์วิกฤตไม่ทัน
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
การมาถึงของไวรัสโควิด-19 อาจไม่ได้แย่เสมอไป เมื่อผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากักตัวอยู่แต่ในบ้าน เปลี่ยนการทำงานสู่ Work From Home หน้าร้านปิด ร้านค้าพลิกกลยุทธ์มาขายผ่านออนไลน์กันมากขึ้น ส่งผลให้ยอดขายออนไลน์เติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก
"LOCOMO™" เป็นของเล่นในแบรนด์ TaksaToys ที่ต้องการสร้างของเล่นเพื่อเป็นตัวช่วยในการเสริมทักษะทางกายภาพและทำให้เด็กๆ ได้เห็นถึงคุณค่าของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกับความสนุกสนาน
ไวรัลอาจเป็นกระแสแค่ชั่วข้ามคืน ทำให้ทุกคนพูดถึงพร้อมกันอยู่ 2-3 วัน แล้วก็หายไป เพราะมีไวรัลดังๆ มาถล่มทับ แต่ Word of Mouth นั้นยั่งยืนกว่า เพราะแม้จะไม่ได้ดังเปรี้ยงป้างอะไรมากนัก แต่ก็ทำให้คนพูดถึงสินค้าหรือบริการของเราไปได้อีกนาน
TMB Analytics เผยแพ็กเกจมาตรการเยียวยาผลกระทบโควิดชุดใหญ่เม็ดเงินกว่า 1 ล้านล้านบาท ช่วยยืดเงินใช้จ่ายของลูกจ้างที่มีอยู่เป็น 8 เดือน ธุรกิจมีสภาพคล่องหมุนเวียนอยู่ได้เพิ่มจาก 3 เดือน เป็น 5 เดือน สามารถประคองการจ้างงาน พร้อมจะฟื้นตัวได้หลังวิกฤต
ในช่วงเวลานี้ธุรกิจยังคงเผชิญหน้ากับภาวะวิกฤตอย่างหนักหน่วง และยังไม่มีท่าทีจะบางเบาลงได้ง่ายๆ ในสถานการณ์เช่นนี้ ธุรกิจสามารถลดความรุนแรงของผลกระทบหรืออาจพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสได้ เพียงแค่ลองนำหลักการ “Lean” เข้ามาใช้ ลองมาทำความเข้าใจเรื่องนี้ไปพร้อมกัน
KKP Research ปรับประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจจาก -2.4 เปอร์เซ็นต์ เป็นลงลึกถึง –6.8 เปอร์เซ็นต์ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่มีความรุนแรงขึ้นกว่าเดิม และมาตรการควบคุมที่เข้มงวดขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หดตัวลึกและยาวนานยิ่งขึ..