ในชีวิตคนเราจะเจอวิกฤตได้สักกี่ครั้งกว่าจะประสบความสำเร็จ สำหรับ “นิภาภัทร์ ใจโสด” เจ้าของแบรนด์ “Anatani” อาจเรียกว่าไม่อยากนับกันเลยทีเดียว แต่อะไรทำให้ผู้หญิงคนนี้สามารถก้าวข้ามปัญหา จนกลายมาเป็นแบรนด์นมถั่วแระญี่ปุ่นเจ้าแรกของไทยได้
ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ถ้าวันหนึ่งพนักงานในองค์กรของเราติดโควิด เราจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร? สำหรับ “ศุภรัตน์ โชติสกุลรัตน์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (UAE) รับมือกับเรื่องนี้ด้วยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
“ข้าวเหนียว ไก่ย่าง” แต่ละพื้นที่ก็ล้วนมีสูตรเด็ดเฉพาะตัวที่แตกต่างกันออกไป จนปัจจุบันไม่ได้เติบโตอยู่แค่ในพื้นที่เท่านั้น แต่ยังกระจายออกไปในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศด้วย
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
จุดขายที่น่าสนใจของ มาดาม พาเท่ห์ ไม่ได้มีแค่ความชิค แต่คือสตอรี่ที่ไม่ธรรมดาของคุณแม่ของพวกเขา หนึ่งในผลพลอยได้จากชีวิตที่มีสีสันคือการรู้จักวัฒนธรรมอาหารที่หลากหลาย การปรุงแต่งด้วยรสชาติที่ผสมผสานอย่างลงตัว
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
ในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การออกงานแฟร์ที่เป็นลักษณะเสมือนจริง หรือ Virtual Trade Fair กลายเป็นทางออกและคำตอบ ที่สำคัญยังสามารถแก้ปัญหา “ได้ไม่คุ้มเสีย” ที่ SME เคยเผชิญมาในอดีตอีกด้วย
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
จากคำเคยกล่าว “ปู่สร้าง พ่อขยาย ลูกหลานทำเจ๊ง” ธุรกิจอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น วันนี้อายุไขธุรกิจอาจสั้นไปกว่านั้น ทำอย่างไรธุรกิจครอบครัวถึงจะยังคงอยู่ และแข็งแกร่งเหนือความเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤต
การมาถึงของทายาทรุ่น 3 กับภารกิจสืบสานแบรนด์เก่าแก่ที่ดำเนินกิจการมายาวนานกว่า 62 ปี ให้เป็นที่ต้องการและเข้าถึงคนรุ่นใหม่ คือความท้าทายสำคัญของการขับเคลื่อนธุรกิจครอบครัว
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19