ในช่วงที่ผ่านมามีการพูดถึง “Design Thinking” หรือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ว่าจะเป็นหนึ่งในคำตอบ และทางออกที่จะทำให้ธุรกิจเข้าใกล้ความสำเร็จ ปรับปรุงการทำงานได้ดีขึ้น และช่วยให้สินค้าที่ทำออกมาขายได้
ท่ามกลางความโหดร้ายของตลาดแรงงานในวันที่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัส ยังมีสัญญานดีๆ ของ 5 อาชีพ 5 ธุรกิจ ที่ยังเป็นที่ต้องการในยุคโควิด-19 ไปหาคำตอบเรื่องนี้กัน
ภาครัฐได้มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 ในระยะที่หนึ่งไปเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ระยะที่สองเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม และล่าสุดระยะที่สาม ในวันที่ 1 มิถุนายน เพื่อให้กิจการและกิจกรรมหลายประเภทสามารถกลับมาให้บริการได้อีกครั้ง
ไม่มีคำว่าเหมือนเดิมอีกต่อไป หลังจากที่ไวรัสโควิดมาเยือน ทุกอย่างเปลี่ยนไปโดยเฉพาะวิถีการทำงานที่องค์กรต้องปรับตัวกันอย่างหนัก เช่น การให้พนักงาน Work From Home เป็นต้น
เมื่อวิศวกรหนุ่มอดีตนักศึกษา MIT สหรัฐอเมริกา กลับมาสานต่อกิจการรีสอร์ทของครอบครัว ที่อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เกมธุรกิจบทใหม่จึงเริ่มขึ้น ด้วยการแจ้งเกิดโรงแรมน้องใหม่ “ริเวอร์ตัน อัมพวา” ...ทว่าวันเปิดโรงแรมกลับต้องเจอกับโควิด-19 เข้าอย่างจัง
“Virginia Satir” นักบำบัดโรคในครอบครัวชื่อดังของโลก เคยกล่าวไว้ว่า มนุษย์เราต้องการการกอดวันละ 4 ครั้ง เพื่อการดำรงชีวิต ต้องการการกอดวันละ 8 ครั้ง เพื่อการดำเนินชีวิต และต้องการการกอดวันละ 12 ครั้ง เพื่อการเจริญเติบโต
กรุงศรี (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ) ประกาศว่ากรุงศรี ฟินโนเวต ซึ่งเป็นบริษัทในเครือกรุงศรี กรุ๊ป ได้ลงทุนใน Grab Holdings Inc. หรือ Grab ซึ่งเป็นผู้ให้บริการซุปเปอร์แอป (Super App) ชั้นนำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การทำธุรกิจในโลกยุคใหม่ SME ต้องเท่าทันพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่มองเห็นอย่างชัดเจนคือ วันนี้ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่บนโลกโซเชียล ถ้าผู้ประกอบการยังอยู่ในโลกคนละใบ ก็มีโอกาสหลุดจากใจผู้บริโภคยุคใหม่ได้ง่ายๆ
ในโลกของการทำธุรกิจ SME ต้องเจอกับความท้าทายมากมาย มีโจทย์หนักๆ การแข่งขันใหม่ๆ เข้ามาทำให้หยุดนิ่งอยู่กับที่ไม่ได้ การทำอะไรอยู่ใน Comfort Zone กลายเป็นตัวฉุดรั้งความสำเร็จ ทำอย่างไรถึงจะออกจากกับดักเหล่านี้ได้
“ความคิดสร้างสรรค์” ไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินไป และไม่ใช่พรสวรรค์ของใครบางคนอย่างที่เราเคยเชื่อกัน เพราะไม่ว่าใครก็มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้ทั้งนั้น ขอแค่เข้าใจหลักการ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพียงเท่านี้ความคิดสร้างสรรค์ก็บรรเจิดได้ทุกคน
อุตสาหกรรมอาหารไทยในอนาคต ต้องก้าวข้ามการผลิตเชิงปริมาณ มาผลิตสินค้าในเชิงนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าให้เกิดขึ้น และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนโดยอุตสาหกรรม เป็นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
ไวรัสโคโรนา ไม่ได้กำลังเล่นงานแค่คนจีนเท่านั้น แต่กำลังปล่อยเชื้อวิกฤติใส่ผู้ประกอบการไทยด้วย แม้แต่ SME ที่ทำสินค้าป้อนตลาดจีน หรือมีนักท่องเที่ยวจีนเป็นเป้าหมายหลัก มาดูวิธีตั้งรับวิกฤติไวรัสโคโรนาให้ได้ใจลูกค้าจีน ทั้งในวันนี้และอนาคตกัน