ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
มีเทรนด์แพ็กเกจจิ้งอะไรน่าสนใจบ้าง การเติบโตของแพ็กเกจจิ้งไทยจะไปในทิศทางไหน ไปฟังการวิเคราะห์ 8 เทรนด์บรรจุภัณฑ์ไทย ปี 2564 จาก “แชมป์ – สมชนะ กังวารจิตต์” นักออกแบบบรรจุภัณฑ์มือรางวัลเวทีโลก เจ้าของ Prompt Design
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
สิ่งของบางอย่าง วัฒนธรรมประเพณีที่เราเห็นจนคุ้นชิน แต่กับคนต่างถิ่น ต่างพื้นที่ ต่างวัฒนธรรม เรื่องราวแสนธรรมดาเหล่านั้นกลับสร้างแรงดึงดูดใจให้อยากไปสัมผัส จนกลายเป็นโอกาสธุรกิจและการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ขึ้นมาได้
“พริกค่ะ สไปซี่ คอฟฟี่” (PRIKKA Spicy Coffee) แจ้งเกิดในธุรกิจกาแฟสำเร็จรูปด้วยการเป็น กาแฟพริกสูตรแรกของโลก ที่ได้รับการประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยเป็นที่เรียบร้อย แถมยังคว้ารางวัลระดับโลกมาการันตีความสำเร็จอีกมากมาย
กลยุทธ์การตลาดยอดฮิตในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คือการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า ในโฆษณาจึงมีคำว่า ‘Experience’ หรือ ‘ประสบการณ์’ อยู่เต็มไปหมด แต่กลยุทธ์นี้ไม่เพียงพอในยุคหลังโควิด สิ่งที่ธุรกิจต้องสร้างคือ เป็นแบรนด์ที่ลูกค้าเชื่อใจ (Trust)
ในขณะที่แบรนด์ต่างๆ กำลังต่อสู้กับภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก วิธีการตอบโต้กับลูกค้าเพื่อมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดนับเป็นสิ่งสำคัญ สอดคล้องกับรายงาน Digital Trend 2020 ที่เป้าหมายหลักในปีนี้อยู่ที่ประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experience - CX)
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
หากพูดถึงชื่อ “Bata” (บาจา) เชื่อว่านักเรียนไทยแทบทุกคนคงรู้จักกันเป็นอย่างดีกับแบรนด์รองเท้าผ้าใบคุณภาพชื่อดังที่วางจำหน่ายอยู่ในเมืองไทยมานานกว่า 90 ปี จนพาลให้คิดไปว่า Bata คือ หนึ่งใน Local Brand ของไทย แต่จริงๆ แล้วมาจากสาธารณรัฐเชกต่างหาก
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
ความนิยมของร้านอาหารเสมือนจริง (Virtual Restaurant) หรือร้านที่ไม่ต้องมีหน้าร้านหรือโต๊ะสำหรับคนเข้ามานั่งรับประทานในร้านกำลังเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่จำเป็นมีแค่พื้นที่ห้องครัวและแอปพลิเคชันส่งอาหาร