สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (COVID–19) ที่พ่นพิษไปทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้าง ข้อมูลข่าวสารมากมายได้สร้างความตื่นตระหนก วิตกกังวล และความเครียด จนส่งผลเสียต่อทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบการและเหล่าผู้นำองค์กร
ยังคงใช้ได้เสมอ กับคำว่า “โอกาสในวิกฤต” ถ้าเพียงแค่ผู้ประกอบการเปลี่ยนมุมคิด และตั้งรับกับสถานการณ์วิกฤตกันใหม่ แม้แต่ช่วงเวลาที่ยากลำบากสุดๆ ก็อาจเกิดเป็นโอกาสธุรกิจที่สร้างงานสร้างรายได้ให้กับคุณได้
ไทยพัฒน์ฯ จัดทำแนวทางรับมือของภาคธุรกิจต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ “Business Response Guidance on COVID-19” เผยแพร่ให้องค์กรธุรกิจ เพื่อดูแลผลกระทบทั้งในระยะสั้น และรักษาไว้ซึ่งคุณค่าขององค์กรในระยะยาว
ในขณะที่ไวรัส COVID-19 กำลังระบาดหนักเช่นนี้ “ธุรกิจร้านอาหาร” ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างมาก ซึ่งต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ไว้มากมาย ทั้งค่าต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นของสด ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าสถานที่ ฯลฯ ขณะที่ปริมาณลูกค้ากลับลดลงไปมหาศาล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 กระทบต่อภาคธุรกิจในหลายอุตสาหกรรม ฝากรอยช้ำให้ทั้งผู้ประกอบการที่เป็นนายจ้าง และกลุ่มพนักงานที่เป็นลูกจ้าง
ในสถานการณ์ปัจจุบันมีหลายอย่างที่กำลังถาโถมเข้าใส่ผู้ประกอบการทุกคนเหมือนในทุกวันนี้ เชื่อว่าทุกคนคงเครียด เหนื่อย ท้อ ทุกอย่างดูมืดมนไปหมด วันนี้เรามีเคล็ดลับการ Cheer up! ตัวเองให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้ด้วยกันมาฝาก
ธนาคารไทยพาณิชย์ มอบทางออกช่วยเหลือผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง ขานรับนโยบายภาครัฐร่วมโครงการปล่อยกู้สินเชื่อจากภาครัฐดอกเบี้ยต่ำ หรือ ซอฟต์โลน ช่วยลดต้นทุนให้กับเอสเอ็มอีที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมในอัตราดอกเบี้ย 2 เปอร์เซ็นต์ต่..
EXIM BANK ประกาศปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MOR MLR และ MRR เหลือเพียง 5.75 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ซึ่งต่ำที่สุดในระบบธนาคาร มีผลตั้งแต่วันที่ 19 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
นอกจากเรื่องของเศรษฐกิจ ยอดขายที่น่าเป็นกังวลอยู่ในตอนนี้แล้ว เรื่องของสุขภาพพนักงานในการเสี่ยงติดเชื้อไวรัส COVID-19 ก็น่ากังวลเช่นเดียวกัน
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีเอ็มบี หรือ TMB Analytics รายงานสถานการณ์ COVID-19 จะกระทบต่อมูลค่าการค้าไปจีนราว 20 เปอร์เซ็นต์ ในครึ่งปีแรก หรือเสียหายราว 2.4 แสนล้านบาท โดยหากยืดเยื้อ จะส่งผลต่อต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น และอาจกระทบต่อการจ้างงานในประเทศได้
ในยุควิกฤตผู้ประกอบการต้องรัดเข็มขัด ใช้เงินให้ฉลาด ใช้ความคิดให้มาก และต้องออกจากท่าเล่นเดิมๆ เพื่อไปสู่โอกาสใหม่ๆ โดยใช้พลังของความคิดสร้างสรรค์ไปทำให้เกิดรายได้ไม่ใช่การโฆษณาสินค้า
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ปรับประมาณการรายได้ของธุรกิจร้านอาหารในปี 2563 ลงเหลือ 4.02 – 4.12 แสนล้านบาท จากคาดการณ์เดิม ณ ต้นปี 2563 มีมูลค่า 4.39 แสนล้านบาท หรือลดลงที่ประมาณ 2.65 - 3.65 หมื่นล้านบาท